ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารียา หุตินทะ

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ วรรณกรรมปัจจุบัน วิทยานิพนธ์ อารียา หุตินทะ. “แนวคิดกุลสตรีในนวนิยายของนักเขียนสตรีเขมร.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบ คณะอักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551. อารียา หุตินทะ. “ภาพลักษณ์สังคมไทยในเรื่องสั้นไทยร่วมสมัยระหว่างพุทธศักราช 2534-2536.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตร  มหาบัณฑิต หน่วยวิชาวรรณคดีเปรียบเทียบ บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538. ผลงานวิจัย ผลงานวิจัย อารียา หุตินทะและนันทวัลย์ สุนทรภาระสถิตย์. ราชบุรีในวรรณคดีการสงคราม: บทบันทึกภูมิปัญญาการสงครามในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น. งานวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (กำลังดำเนินการ). สร้อยสน สกลรักษ์และคณะ.(2560). การศึกษารูปแบบ วิธีการสอน และวิเคราะห์เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ของการสอนอ่าน-เขียนภาษาไทยในระดับประถมศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 9. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. รื่นฤทัย สัจจพันธุ์ และคณะ. (2558). “จิตวิญญาณ ประชาธิปไตย เรื่องสั้น 40 ปี นับจาก 14 ตุลา 2516.” ทุนอุดหนุนการวิจัย จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย […]

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมาลี ลิ้มประเสริฐ

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ วรรณคดีไทย วิทยานิพนธ์ สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. “การศึกษาเรื่องอวทาน–กัลปลตาของเกษเมนทรา : ความสัมพันธ์ของเรื่องสุธน–กินรีกับวรรณคดีไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาสันสกฤต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2550. ________. ” ตัวละครหญิงในบทละครพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว : สื่อในการอบรมหญิงไทย.”  วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษร ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2538. ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สุมาลี ลิ้มประเสริฐ. (2558). “ความเปรียบเกี่ยวกับสุนัขและแมวในพระไตรปิฎก.” นครปฐม, ทุนอุดหนุนการวิจัยจาก คณะอักษร ศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีงบประมาณ 2554. สมชาย สำเนียงงาม และคณะ. (2558). “โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและเสริมสร้าง ทักษะด้านการจัดการแบบบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”. นครปฐม, ทุนอุดหนุนการ วิจัยจากกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2557. สุมาลี  ลิ้มประเสริฐ. “ความเปรียบเกี่ยวกับสุนัขและแมวในพระไตรปิฎก“. ได้รับทุนสนับสนุนการทำวิจัยจากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจำปี […]

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมชาย สำเนียงงาม

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ ภาษาไทย วิทยานิพนธ์ สมชาย  สำเนียงงาม. “ลักษณะภาษาที่แสดงความเปลี่ยนแปลงของความเชื่อเกี่ยวกับสิริมงคลและกาลกิณีในชื่อของคนไทย.” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546. ________.  “ปัจจัยที่มีผลต่อความสนใจในการเรียนวิชาภาษาไทยตามการรับรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เขตการศึกษา 6.”  วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534. ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สมชาย สำเนียงงาม และคณะ. (2560). “การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์: การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศการเรียนรู้ วิถีชีวิตเกษตรไทย เพื่อชุมชนยั่งยืน กรณีศึกษาอำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี”. นครปฐม, ทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สมทบร่วมกองทุนวิจัยและสร้างสรรค์คณะอักษรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2558. สมชาย สำเนียงงาม และคณะ. (2558). “โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและเสริมสร้าง ทักษะด้านการจัดการแบบบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”. นครปฐม, ทุนอุดหนุนการ วิจัยจากกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2557. มณีปิ่น พรหมสุทธิรักษ์ และคณะ. “โครงการเครือข่ายความร่วมมือหลักสูตรอาเซียนด้านการท่องเที่ยว : […]

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ วรรณคดีไทย วิทยานิพนธ์ ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. “ภาพลักษณ์พระมหากษัตริย์ไทยในวรรณคดีสมัยอยุธยา.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2557. ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. “ยวนพ่ายโคลงดั้น: ความสำคัญที่มีต่อการสร้างขนบและพัฒนาการของวรรณคดีประเภทยอพระเกียรติของไทย.” วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556. ผลงานวิจัย ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ชนัญชิดา บุญเหาะ และปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2566). “โคลงสุุภาสิตใหม่ โคลงอุภัยพากย์ และ โคลงพิพิธพากย์: ความสัมพันธ์ระหว่างโคลงสุภาษิตในหนังสือวชิรญาณวิเศษกับการสร้างข้าราชการแบบใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 5.” วารสารไทยศึกษา 19, 2 (ธันวาคม 2566): 84-116. (Tci 1) ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2558). “ภาพแทนของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนต้น.” ทุนอุดหนุนการวิจัย จากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคณะอักษรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2558. ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ ปัทมา ฑีฆประเสริฐกุล. (2559). “ภาพแทนของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถในยวนพ่ายโคลงดั้น.” ใน […]