ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฟรานซีส นันตะสุคนธ์

Assistant Professor

FRANCIS NUNTASUKON, DFA.

nuntasukon_f@silpakorn.edu
099-0530600

วุฒิการศึกษา

  • ศิลปกรรมศาสตรดุษฏีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2555)
  • ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การประพันธ์เพลง), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2551)
  • รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2546)

วิทยานิพนธ์

  • ระดับปริญญาเอก: ฟรานซีส นันตะสุคนธ์ (2554) บทประพันธ์เพลง : มณฑลแห่งเสียง, วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ: คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ระดับปริญญาโท : ฟรานซีส นันตะสุคนธ์ (2550) สาวิตรี : โอเปร่า, วิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

  • ฟรานซีส นันตะสุคนธ์. (2565). การศึกษาสังเคราะห์ความรู้และสถานภาพการวิจัยทางดนตรีชาติพันธุ์วิทยาในเขตจังหวัดภาคตะวันตกของประเทศไทย. นครปฐม, กองทุนวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์คณะอักษรศาสตร์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562.
  • สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว, กฤษณพงศ์ ทัศนบรรจง, ฟรานซีส นันตะสุคนธ์, บุณฑริกา คงเพชร. (2565). ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “นันโทปนันทสูตรคำหลวง : สืบสาน บันดาลศิลป์”, โครงการย่อยที่ 2 การสร้างสรรค์ผลงานทางสังคีตศิลป์ไทย : นันโทปนันทนาคราช. นครปฐม, กองทุนสนับสนุนการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565.
  • ฟรานซีส นันตะสุคนธ์. (2564). สัญลักษณ์และประวัติคีตวรรณกรรมสยามโดย “พระอภัยพลรบ” นักวิทยาดนตรีคนแรกของประเทศไทย. นครปฐม, ทุนอุดหนุนการวิจัยและงานสร้างสรรค์ จากกองทุนวิจัยและสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2563.

งานวิจัยระหว่างดำเนินการ

  • เพลงแห่งสยาม: ผลงานการเรียบเรียงประสานและบทวิเคราะห์แนวคิดแบบหลังอาณานิคมจากผลงานดนตรีของ พอล เจ. เซลิก, Song of Siam: A Composition and The Post-colonial Analysis from The Works of Paul J. Seelig., กองทุนสนับสนุนการวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ และสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) PMU ประจำปี 2566
  • การศึกษาสัญลักษณ์และการออกแบบชุดอักษรทางดนตรีเพื่อการใช้ประโยชน์แบบฟรีลิขสิทธิ์ในประเทศไทย, The study of symbols and the musical fonts designing for the use of free copyrights in Thailand., สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) PMU ประจำปี 2565
  • ชุดโครงการวิจัย “โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัยผ่านสื่อออนไลน์ “คน คิด ความรู้ : วิธีวิทยาและองค์ความรู้จากนักวิจัยสาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์” (Methodology and Body of Knowledge from Experience of Researchers in Humanities, Social Sciences and Fine Art: The Online Seminar Project) สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) PMU ประจำปี 2565-2566
  • ประวัติศาสตร์ของจุดกำเนิดดนตรีไทยสมัยนิยมและกิจการวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ระหว่างปี 2475 ถึง 2495 (The Sound of State : History of the Origin of Thai Popular Music and the Radio Broadcasting of Thailand from 1932 to 1952), ทุนวิจัยส่วนตัว คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ

  • ฟรานซีส นันตะสุคนธ์. (2565). การศึกษาสังเคราะห์ความรู้และสถานภาพการวิจัยทางดนตรีชาติพันธุ์วิทยา ในเขตจังหวัดภาคตะวันตกของประเทศไทย (A synthesis of ethnomusicological knowledge and the exploratory research on ethnomusicology in western provinces of Thailand). วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 42 ฉบับที่ 2 (มีนาคม-เมษายน 2565). หน้าที่ 112-123. Article No. 9. (TCI กลุ่มที่ 1) 2565
  • ฟรานซีส นันตะสุคนธ์. (2564). สัญลักษณ์และประวัติคีตวรรณกรรมสยามโดย “พระอภัยพลรบ”: นักวิทยาดนตรี คนแรกของประเทศไทย (The Siamese historical music transcription of “Phra Aphaipholrop”: The pioneer musicologist of Thailand). วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 41 ฉบับที่ 5 (กันยายน-ตุลาคม 2564). หน้าที่ 57-69. 2564

บทความวิจัยที่เผยแพร่ในที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ และนานาชาติ)

  • รุจิรา ทรัพย์เจริญ และฟรานซีส นันตะสุคนธ์. (2566). การวิเคราะห์ผลงานการประพันธ์เพลงเถาสำเนียงเขมรของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง), รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านดนตรีสำหรับนิสิตนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ACTION ครั้งที่ 2 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประเทศไทย, 28 เมษายน 2566, 64-75.
  • สาธิต สงวนพันธ์ และฟรานซีส นันตะสุคนธ์. (2566). การวิเคราะห์ผลงานการประพันธ์เพลงประเภทโหมโรงที่นำมาจากเพลงหน้าพาทย์ ของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง), รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านดนตรีสำหรับนิสิตนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ACTION ครั้งที่ 2 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประเทศไทย, 28 เมษายน 2566, 76-92.
  • ณัฐฎา กุลกรรณ์ และฟรานชีส นันตะสุคนธ์. (2566). สานศิลป์ดนตรีถิ่นอีสานใหม่: การสร้างสรรค์ดนตรีร่วมสมัยโดยประยุกต์ดนตรีพื้นบ้านอีสานสำหรับรถแห่ดนตรีในพื้นที่ภาคกลาง, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านดนตรีสำหรับนิสิตนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ACTION ครั้งที่ 2 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประเทศไทย, 28 เมษายน 2566, 276-288.
  • ฟรานซีส นันตะสุคนธ์ (2561) สัญญะและความหมายในแบบเรียนดนตรีวิทยาของพระอภัยพลรบ. การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 8. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ประเทศไทย, 22 มิถุนายน 2561, 719-731.
  • Francis Nuntasukon. (2018). Solmitization: Techiniques and Its Meaning from Phra Apaipolrop. PGVIM International Symposium: “Music and Socio-Cultural Development of ASEAN 2018”. Princess Galyani Vadhana Institute of Music, Thailand. 29 – 31 August 2018. pages 26-27.