ผู้ช่วยศาสตราจารย์คงกฤช ไตรยวงค์ (ลาศึกษาต่อ)

Assistant Professor

KONGKRIT TRIYAWONG

Kongkrit.tr@gmail.com

วุฒิการศึกษา

  • อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ปรัชญา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2551)
  • อักษรศาสตรบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2545)

สาขาวิชาที่สนใจ

  • ปรัชญาภาคพื้นทวีปยุโรป
  • เฮอร์เม็นนิวติกส์
  • ปรัชญาเอ็กซิสเท็นเชียลลิสม์
  • ปรัชญาตะวันตกสมันกลาง
  • ปรัชญาวรรณกรรม

วิทยานิพนธ์

  • คงกฤช ไตรยวงค์. ทัศนะอัตลักษณ์เชิงเรื่องเล่าของปอล ริเกอร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาปรัชญา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2550.

ผลงานวิจัย

ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

  • พิพัฒน์ สุยะ และคณะ. (2560). “วิธีวิทยาทางปรัชญา”. ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ปีงบประมาณ 2558. (ผู้ร่วมวิจัย)
  • คงกฤช  ไตรยวงค์. (2556). “ความสัมพันธ์แบบพบหน้าค่าตาในฐานะเงื่อนไขของจริยาสตร์ตามทัศนะของ เอมมานูเอล เลวีนาส” (Face-to-Face Relation as a Condition for Ethics in Emmanuel Levinas’ Philosophy) ในรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยสร้างแผนที่จริยศาสตร์” (Mapping Ethics) ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).

Proceedings

  • คงกฤช ไตรยวงค์. (2556). “ใครมาถึงเรือนชานต้องต้อนรับ?: จริยศาสตร์แห่งการต้อนรับขับสู้จากเลวีนาสถึงแดร์ริดาใน โครงการประชุมสัมมนาทางวิชาการด้านปรัชญาและศาสนา: การเปลี่ยนแปลงของความรู้และอำนาจเชิงประเพณี ศาสนา และจริยธรรมในโลกยุคใหม่ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ หมาวิทยาลัยศิลปากร วันที่ 14 สิงหาคม 2556.
  • ___________. (2556). ได้รับเชิญเป็น Keynote speaker ให้บรรยายในหัวข้อ Trends in Academic Administration of Thailand Autonomous Universities ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หัวข้อ Contemporary Issues on Social and Culture University of Trunojoyo ประเทศอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2556.
  • ___________. (2555). “ความสัมพันธ์แบบพบหน้าค่าตาในฐานะเงื่อนไขของจริยาสตร์ตามทัศนะของ เอมมานูเอล เลวีนาส” (Face-to-Face Relation as a Condition for Ethics in Emmanuel Levinas’ Philosophy) ใน การประชุมวิชาการ ฉัน เธอ เขา เรา ท่าน และอื่นๆอีกมากมายในแผนที่จริยศาสตร์: Mapping Ethics เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2555 สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์.

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

หนังสือ ตำรา

  • คงกฤช ไตรยวงค์. (บรรณาธิการร่วม). (2557). เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทยครั้งที่ 7. นครศรีธรรมราช: กรีนโซน.
  • ___________. (กองบรรณาธิการ). (2556). พจนานุกรมภาษาอินโดนีเซีย. นครศรีธรรมราช: กรีนโซน.
  • ___________. (บรรณาธิการ). รวมบทความวิชาการชุดศิลปศาสตร์สำนึก. กรุงเทพฯ : สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
  • ___________. (ผู้ช่วยบรรณาธิการ). (2550). จากเวทีละครสู่เวทีการวิจารณ์. กรุงเทพฯ : ชมนาด.
  • ___________. (บรรณาธิการ). (2550). ลายลักษณ์แห่งการวิจารณ์ รวมบทวิจารณ์ร่วมสมัย เล่ม 2. กรุงเทพฯ : ชมนาด.
  • ___________. (ผู้ช่วยบรรณาธิการ). (2547). เบิกฟ้า มัณฑนา โมรากุล. กรุงเทพฯ: ชมนาด.

บทความแปล

  • คงกฤช  ไตรยวงค์. (2556). “ชีวิตที่แสวงหาเรื่องเล่าใน เรื่องเล่า อัตลักษณ์ และความยุติธรรมในปรัชญาของปอล ริเกอร์. กรุงเทพฯ: คบไฟ. (แปลจากบทความ Life in Quest of Narrative ของ Paul Ricoeur)

บทความทางวิชาการ

  • คงกฤช ไตรยวงค์. (2556). “อัตลักษณ์แบบเรื่องเล่าตามทัศนะของ ปอล ริเกอร์. ใน เรื่องเล่า อัตลักษณ์ และความยุติธรรมในปรัชญาของปอล ริเกอร์. กรุงเทพฯ: คบไฟ.
  • คงกฤช ไตรยวงค์. (2553). “การแสวงหาอัตลักษณ์ของคนธรรมดา (ที่ไม่ปกติ) ผ่านเรื่องเล่า ในนวนิยายเรื่อง ลับแล, แก่งคอยใน พิพัฒน์ สุยะ (บก.) ปรชญาจารย์: รวมบทความวิชาการทางปรัชญาและศาสนาเพื่อเป็นเกียรติแด่ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุนัย ครองยุทธ เนื่องในวาระอายุครบ 60 ปี. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ผลงานด้านบทวิจารณ์ศิลปะแขนงต่างๆ

บทวิจารณ์สาขาวรรณศิลป์

  • คงกฤช ไตรยวงค์. “โลกียชน : วิมานคนขี้เหล้า?, ขวัญเรือน. ปีที่ 35 ฉบับที่ 761 (ปักษ์แรก .. 46).
  • ___________. “ดาวบ้านเกิดของนายแพนด้าในนวนิยายของปราบดา หยุ่น,. ขวัญเรือน. ปีที่ 36 ฉบับที่ 781. (ปักษ์หลัง มิ.. 47).
  • ___________. “บริการรับนวดหน้า : สำนึกทางสังคมในรวมเรื่องสั้นชุดใหม่ของ ชาติ กอบจิตติ,” ขวัญเรือน. ปีที่ 37 ฉบับที่ 806 (ปักษ์หลัง มิ.. 48)
  • ___________. “เจ้าหญิง : วรรณกรรมที่เห็นผู้หญิงเป็นวัตถุทางเพศ?,” ขวัญเรือน. ปีที่ 37 ฉบับที่ 818 (ปักษ์แรก .. 2548).
  • ___________. “บางหลืบสมรภูมิ : เรื่องสั้นว่าด้วยการเป็นคนชายขอบ,” ขวัญเรือน. ปีที่ 38 ฉบับที่ 850 (ปักษ์แรก .. 2549).
  • ___________. “ ไม่มีโทรศัพท์และเครื่องปรับอากาศ : คุณค่าและความหมายของชีวิตที่เรียบง่าย,” ขวัญเรือน. ปีที่ 39 ฉบับที่ 850 (ปักษ์หลัง เม.. 50).
  • ___________. (ร่วมเขียนกับอรพินท์ คำสอน). “ทางชีวิตที่เลือกได้ในความสุขของกะทิ,” กรุงเทพธุรกิจ (จุดประกาย). 2550.
  • ___________. “มองย้อนหลังมุ่งหวังไปข้างหน้า จากการอ่านกวีนิพนธ์ของท่านอังคาร กัลยาณพงศ์,” ขวัญเรือน. ปีที่ 40 ฉบับที่ 883 (ปักษ์แรก .. 51).

บทวิจารณ์สาขาสังคีตศิลป์

  • คงกฤช ไตรยวงค์. “คอนเสิร์ต 100 ปี หลวงสุขุมนัยประดิษฐ : มุมมองของผู้เริ่มฟัง,” ขวัญเรือน. ปีที่ 35 ฉบับที่ 757 (ปักษ์แรก มิ.. 46).
  • ___________. “ประสบการณ์ในการฟัง String Quartet เป็นครั้งแรก : คืนหนึ่งและบีเอสโอ,” ขวัญเรือน. ปีที่ 35 ฉบับที่ 767 (ปักษ์แรก .. 46).
  • ___________. “วินัย จุลบุษปะ นักร้องอมตะแห่งวงสุนทราภรณ์,” ขวัญเรือน. ปีที่ 36 ฉบับที่ 772 (ปักษ์หลัง .. 47).
  • ___________. “รำลึกความหลังกับคอนเสิร์ตเดือนหงายกลางป่า’ ,” กรุงเทพธุรกิจ (จุดประกาย). (22 กันยายน 2549).

บทวิจารณ์ภาพยนตร์

  • คงกฤช ไตรยวงค์. “ก่อนโหมโรงจะลาโรง,” ขวัญเรือน. ปีที่ 36 ฉบับที่ 776 (ปักษ์หลัง มี.. 47).
  • ___________. “สบายดีหลวงพะบาง : เรื่องราวความรักที่สง่างาม,” กรุงเทพธุรกิจ (จุดประกาย). (23 มิ.. 2551).
  • ___________. “Departure: เพ่งพินิจเรื่องชีวิตผ่านความตายกรุงเทพธุรกิจ (จุดประกาย). (29 .. 2552)

ผลงานอื่นๆ

นอกจากผลงานด้านวิชาการแล้ว ยังมีผลงานกวีนิพนธ์ตีพิมพ์ตามสื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.. 2543 – 2545 เช่น สยามรัฐสัปดาหวิจารณ์ เนชั่นสุดสัปดาห์ ศิลปวัฒนธรรม ขวัญเรือน วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร เป็นต้น นับเฉพาะที่ตีพิมพ์ในสื่อสิ่งพิมพ์แล้วรวมทั้งสิ้นประมาณ 50 ชิ้น  ในปี 2545 บทกวีชื่อ จำปา ได้รับรางวัลชมเชยจากสมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย (PEN) ปัจจุบันเขียนบทกวีเป็นงานอดิเรก