ศาสตราจารย์ ดร.กรกช อัตตวิริยะนุภาพ

Professor

KORAKOCH ATTAVIRIYANUPAP, Ph.D.

วุฒิการศึกษา

  • Doctor  Philosophiae (Deutsche Sprachwissenschaft) Universität Bern, Switzerland (2007)
  • Licentiata Philosophiae (Deutsche Sprachwissenschaft) Universität Bern, Switzerland (2003)
  • ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2541)
  • ประกาศนียบัตร Großes Deutsches Sprachdiplom สถาบันเกอเธ่ มิวนิค (2540)
  • นิเทศศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2540)
  • ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการแปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2535)
  • อักษรศาสตรบัณฑิต (ภาษาเยอรมันเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทอง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2533)

ประสบการณ์การทำงาน

.. 2533

ผู้ช่วยฝ่ายวิชาการ มูลนิธิคอนราด อาเดเนาว์ กรุงเทพฯ

.. 2534 – เม.. 2541

ผู้ช่วยฝ่ายกิจกรรมของผู้อำนวยการสถาบันเกอเธ่ กรุงเทพฯ

.. 2546 – มี.. 2550

ผู้ช่วยสอนและวิจัยประจำภาควิชาภาษาศาสตร์ภาษาเยอรมันสถาบันภาษาและวรรณคดีเยอรมัน มหาวิทยาลัยเบิร์น

ตั้งแต่ 30 เม.. 2541

อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาเยอรมัน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ตั้งแต่ 14 .. 2551

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาภาษาเยอรมัน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ตั้งแต่ 7 .. 2554

รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาภาษาเยอรมัน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลยศิลปากร

ตั้งแต่ 10 .. 2560

ศาสตราจารย์ประจำภาควิชาภาษาเยอรมัน คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลยศิลปากร

รางวัลที่ได้รับ

“TRF-CHE 2010 Young Researcher Award”

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

ภาษาศาสตร์ภาษาเยอรมัน  ไวยากรณ์เยอรมัน  การเรียนรู้ภาษาที่สอง

วิทยานิพนธ์

  • กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “ความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมในกิจกรรมนิสิตนักศึกษากับการพัฒนาตนเองของนิสิตนักศึกษาในกรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอุดมศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540.
  • Attaviriyanupap, Korakoch. “Anglizismen im Unterricht Deutsch als Fremdsprache.” Lizentiatsarbeit, Universität Bern, 2003.
  • ________. ” ‘ich mut hm lesen geles gelies gelies wat lesen’ Der Erwerb des Hochdeutschen durch thailändische Immigrantinnen in der Schweiz.” Dissertation, Unversität Bern, 2007.

ผลงานตีพิมพ์

หนังสือ

  • Attaviriyanupap, Korakoch. Hochdeutsch als Zweitsprache. Spracherwerb von thailändischen Immigrantinnen in der Schweiz. Bern etc.: Lang. 2009.
  • กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. บรรณนิทัศน์งานวิจัยที่ศึกษาเปรียบต่างไวยากรณ์ภาษาเยอรมันกับภาษาไทย. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2553.
  • ________. ไวยากรณ์เยอรมันสำหรับผู้เรียนระดับต้น. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2554.
  • ________. ภาพยนตร์เยอรมัน ค.ศ. 1895-2011. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2555.
  • ________. ภาษาศาสตร์ภาษาเยอรมันเบื้องต้น. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2557.
  • ________. คำกริยาภาษาเยอรมันจากมุมมองของไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2558.
  • ________. ภาษาเยอรมันแบบไทย ๆ : บูรณาการเชิงสร้างสรรค์ระหว่างสองภาษาสองวัฒนธรรม. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2562.
  • กรกช อัตตวิริยะนุภาพ, อาภากร หาญนภาชีวิน, อันนา คือเบล, เซ็พพ์ ลันท์กราฟ. สอนภาษาเยอรมันผ่านบทเพลงโควิด-19. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2563.
  • กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. โครงสร้างภาษาเยอรมัน. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2564.

หนังสือแปล

  • เยนนี, โซเอ. ห้องเกสร. กรกช อัตตวิริยะนุภาพ, ผู้แปล. กรุงเทพฯ : วงกลม, 2550.
  • เพลท์เซอร์, อุลริช. “โซนี เซ็นเตอร์.” กรกช อัตตวิริยะนุภาพ, ผู้แปล. ใน รวมเรื่องสั้นภาษาเยอรมัน, 218-239. ชลิต ดุรงค์พันธุ์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : วงกลม, 2551.
  • เซแฟร์ต, ซิกริด. ทะเลนี้มีแต่ดาว. กรกช อัตตวิริยะนุภาพ, ผู้แปล. กรุงเทพฯ : ไลต์เฮาส์ พับลิชชิ่ง, 2556.
  • เดอห์ริง, คาร์ล. ศิลปะและหัตถศิลป์ในสยาม เล่ม 1 (หนังสือเนื้อหา). กรกช อัตตวิริยะนุภาพ, อันนา คือเบล, สุนทร ศรีชัย, อาภากร หาญนภาชีวิน. ผู้แปล. นครปฐม : คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2566.
  • เดอห์ริง, คาร์ล. ศิลปะและหัตถศิลป์ในสยาม เล่ม 2 (หนังสือประมวลภาพ). กรกช อัตตวิริยะนุภาพ, อันนา คือเบล, สุนทร ศรีชัย, อาภากร หาญนภาชีวิน. ผู้แปล. นครปฐม : คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2566.

งานวิจัย

  • กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. รายงานการวิจัยเรื่อง กวีนิพนธ์ในฐานะพลังทางปัญญาของสังคมร่วมสมัย: ประสบการณ์จากวรรณคดีไทย อังกฤษ อเมริกัน ฝรั่งเศส และเยอรมัน เล่มที่ 7. บทวิเคราะห์เปรียบเทียบกิจกรรมส่งเสริมกวีนิพนธ์. กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยแห่งชาติ, 2541.
  • ________. “การแทรกแซงของภาษาสวิสเยอรมันในภาษาเยอรมันมาตรฐานของหญิงไทยในเขตสวิสเยอรมัน.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 28, ฉบับพิเศษ (ธันวาคม 2549) : 1-25.
  • ________. “ความสัมพันธ์ระหว่างการออกเสียงกับการผันคำกริยาภาษาเยอรมัน”. ใน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ เรื่อง เวทีวิชาการเพื่อเสนอผลงานและรายงานการวิจัย ประจำปี พ.ศ. 2551, 117-133. สุวัฒนา เลี่ยมประวัติ, บรรณาธิการ. นครปฐม : คณะกรรมการส่งเสริมการวิจัย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2551.
  • ________. “บทสังเคราะห์งานวิจัยที่ศึกษาเปรียบเทียบภาษาเยอรมันกับภาษาไทย”. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 15, 4 (ก.ค. – ส.ค. 2552): 525–546.
  • ________. “กาลในภาษาเยอรมันกับตัวบ่งชี้การณ์ลักษณะในภาษาไทย : การศึกษาเปรียบต่าง” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 32, 2 (2553): 7-41.
  • ________. “คำสรรพนาม man ในภาษาเยอรมันกับคำเทียบเคียงในภาษาไทย”. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย 32, 2 (2555): 73-87.
  • ________. “ไวยากรณ์เยอรมันจากมุมมองของไทย”. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) 4,8 กรกฎาคม – ธันวาคม 2555: 1-17.
  • ________. “การสื่อทัศนภาวะผ่านรูปคำกริยาในภาษาเยอรมันและภาษาไทย”. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ 18, 3 (กรกฎาคม – สิงหาคม 2555): 93–136.
  • ________: “การใช้กิจกรรมกลุ่มในการศึกษาการออกเสียงภาษาเยอรมันของนักศึกษาไทย”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 5,1 (มกราคม – มิถุนายน 2556): 163-183.
  • ________: “สรรพนามบุรุษที่ 1 ในภาษาเยอรมันกับภาษาไทย”. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 35, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2556):76-100.
  • ________. “ปัญหาในการแปลเพลงลูกทุ่งไทยเป็นภาษาเยอรมัน”. ใน รวมบทความวิจัย งานประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่4 ณ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วันที่ 7 พฤษภาคม 2557. 86-110.
  • ________. “แปลคำร้องให้สอดคล้องทำนองเดิม : ปัญหาในการแปลเพลงลูกทุ่งไทยเป็นภาษาเยอรมัน”. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย ปีที่ 35(3) 2558: 115-147.
  • ________. “คำซ้ำในภาษาไทยกับคำเทียบเคียงในภาษาเยอรมัน”. วารสารนิด้าภาษาและการสื่อสาร 20, 26 (2558): 110-133.
  • มุกข์ระวี ถิ่นทุ่งทอง / กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “ภาพเบอร์ลินในบทเพลงเยอรมัน”. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 38(1) 2559: 158-191.
  • รุ่งฟ้า ปลื้มถนอม / เฟลิกซ์ พึล์ม / กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “Mann, hmm, häh?! การใช้คำอุทานในภาพยนตร์เยอรมัน”. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 41(1) 2562: 84-102.
  • สุทธิดา ซุ้ยเล็ก / กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “รูปแบบคำแสดงการเน้นเสริมความของผู้หญิงกับผู้ชายในภาษาไทยและภาษาเยอรมัน”. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 39 (3) 2562: 33-47.
  • สุวนา บัวปาน / กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “ภาพประเทศไทยในมุมมองของนักท่องเที่ยวชาวเยอรมันจากรายงานการเดินทางภาษาเยอรมันในแบบออนไลน์. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 40(6) พ.ย.-ธ.ค. 2563: 16-36.
  • ภูษิตา บำรุงสุนทร / กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “การใช้เกมเล่นตามบทบาท (RPG) เพื่อเป็นสื่อการสอนวัฒนธรรมในการเรียนการสอนภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างประเทศ”. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 43 (1) 2564: 52-69.
  • สุภัคจิรา ขำประถม / กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “เด็กในฐานะเหยื่อของยุคนาซี : การวิเคราะห์ภาพยนตร์เยอรมัน”. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการระดับชาติของนิสิต/นักศึกษาระดับปริญญาตรี 7 สถาบัน ประจำปี 2564 วันที่ 21 เมษายน 2564: 59-70.
  • กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “หน่วยสร้างที่มีคำ “ให้” จากมุมมองของภาษาเยอรมัน”. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 43, 2 2564: 155-174.
  • พรกุศล คำบุญมา / กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “การใช้แอนิเมชันสอนไวยากรณ์ในการเรียนการสอนภาษาเยอรมันในฐานะภาษาต่างประเทศ”. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 11. วันที่ 24 มิถุนายน 2565: 631-642.
  • ณิชนันทน์ คงกระพันธ์ / กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “การศึกษาเปรียบเทียบอุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับสัตว์ในสำนวนไทยและเยอรมัน” วารสารมนุษยศาสตร์ ฉบับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง 11, 2 (2022): 49-69.
  • ปาริชาติ ชัยสวัสดิ์ / เฟลิกซ์ พึล์ม / กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “เพลงเชียร์ฟุตบอลบุนเดสลีกาและไทยลีก : การวิเคราะห์เปรียบเทียบ”. โครงการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 15 วันที่ 10-11 มีนาคม 2566. E-Proceedings: 179-202.
  • วุฒิไกร ลาชโรจน์ / กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “การศึกษาหน้าที่ทางวากยสัมพันธ์กับคำที่ปรากฏร่วมกับคำ “Pandemie” (โรคระบาด) และ “COVID-19” ในข่าวประชาสัมพันธ์ภาษาเยอรมันของบริษัทไบออนเทค. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 43(3): 28-41.
  • Attaviriyanupap, Korakoch. “Deutscherwerb thailändischer MigrantInnen in der Schweiz. Eine Pilotstudie.” Die Brücke. Zeitschrift für Germanistik in Südostasien 4 (2004) : 1-19.
  • ________. “Wie ‘Haar’ zu ‘Maus’ wird. Geschlechtsbezogene pronominale Referenz im Thailändischen.” Linguistik online 21, 4 (2004) : 3-22. http://www.linguistik-online.de/21_04/index.html
  • ________. “Anglizismen in DaF-Lehrwerken.” TDLV-Forum 8 (2005) : 37-45
  • ________. “Zur Behandlung der Anglizismen im DaF-Unterricht.” Die Brücke. Zeitschrift für Germanistik in Südostasien 6 (2005) : 25-34.
  • ________. “Ausspracheabweichungen im Hochdeutsch thailändischer Immigrantinnen in der Deutschschweiz.” Linguistik online 26, 1 (2006) : 15-30. http://www.linguistik-online.de/26_06/index.html.
  • ________. “Der Erwerb der Verbflexion durch thailändische Immigrantinnen in der Schweiz. Eine Bestandsaufnahme” Linguistik online 29, 4 (2006) : 3-29. http://www.linguistik-online.de/29_06/index.html
  • ________. Thailändisches Deutsch? Ausspracheabweichungen bei thailändischen Immigratinnen in der Deutschschweiz. Dokumentation der Tagungsbeiträge. IV. Thailändisches Germanistentreffen. 22.-24. März 2007 Faculty of Liberal Arts, Thammasat Universität. Bangkok: Thammasat Universitätsverlag, 2008: 184-199.
  • Attaviriyanupap, Korakoch/Peter, Klaus. “Die Entwicklung der deutschen Mittelfeldstruktur in L2-Lernervarietäten”. Zeitschrift für Fremdsprachenforschung 19, 2 (2008): 241–271.
  • Attaviriyanupap, Korakoch. “Linguistische kontrastive Studien Deutsch-Thailändisch. Eine Bestandsaufnahme”. Linguistik online 40, 4 (2009): 29–44.
  • ________. “Grammatical Categories of Verbs in German and Thai: A Corpus-Based Contrastive Study”. MANUSYA Journal of Humanities 13 (2)/2010: 21–36.
  • ________. “Ausspracheschwierigkeiten thailändischer Deutschlernenden und deren Auswirkung auf ihren Erwerb der deutschen Verbmorphosyntax”. IDV Magazin. Der Internationale Deutschlehrerverband 84/März 2011: 556–569.
  • ________. “Die Modalverben im Deutschen und ihre thailändischen Entsprechungen. Eine kontrastive Analyse”. Zeitschrift für Angewandte Linguistik 55 (2011): 91–119.
  • ________. “Der Gebrauch des Perfekts – Ein Erklärungsmodell aus thailändischer Perspektive”. Linguistik online 49, 5 (2011): 47–60.
  • ________. “Kann man unsichtbar werden? Das deutsche Pronomen und seine thailändischen Entsprechungen”. Studii de gramatică contrastivă (Studies in Contrastive Grammar) 18/2012: 22–39.
  • ________. “Lokaldeixis: Raum-Zeichen der Sprache hier, da dort im Deutschen und Thailändischen: eine kontrastive Analyse”. In: Hess-Lüttich, Ernest W. B. / Watanagura, Pornsan (Hrsg.): KulturRaum Zur (inter)kulturellen Bestimmung des Raumes in Sprache, Literatur und Film. Frankfurt/Main etc., Peter Lang. 2013 : 309-326.
  • ________. “Creative Translation: Problems in Translating Thai Country Songs into German”. Official Proceedings 2015. 2nd International Conference on Language, Literature, and Cultural Studies. August 20-21, 2015, organized by Department of Western Languages, Faculty of Humanities and Social Science, Burapa University, Thailand, 2015: 108-121.
  • ________. “Zur Übersetzung von Lukthung-Liedern als Mittel im Deutschunterricht thailändischer Studenten” In: Setiawati, Darmojuwono/ Langguth, Svann/Schnieders, Guido/Widodo, Pratomo/Wijayati, Primardiana (eds.) Jurnal Ilmiah Bahasa, Sastra, dan Budaya Jerman No. 2/Dez 2015 Ziele und Aufgaben einer zukunftsweisenden Germanistik. Von Lehre zu Forschung und Lehre: 25-34.
  • Keadmaneegul, Supachok/Attaviriyanupap, Korakoch: “Kasusfehler bei thailändischen DaF-Studierenden”. Info DaF 43, 1, 2016: 89-102.
  • Attaviriyanupap, Korakoch. “From Thai Country Songs to German Singable Lyrics: Creative Translation in Foreign Language Teaching”. Linguistics and Literature Studies 4, 2016a: 348 – 354.
  • ________. “Reduplikationen im Thailändischen und ihre Entsprechungen im Deutschen”. In: Hentschel, Elke (ed.): Wortbildung im Deutschen. Aktuelle Perspektiven. Tübingen, Narr Francke Attempto, 2016b 247-279.
  • Poolsawasdhi, Konkanok/Attaviriyanupap, Korakoch. “Phraseologismen mit “Hand” und “Fuß” im Deutschen und im Thailändischen: Eine kontrastive Analyse”. Journal of Humanities. Graduate Study. Ramkhamhaeng University 5,1, 2016c: 16-32. (วารสารมนุษยศาสตร์ ฉบับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง)
  • Attaviriyanupap, Korakoch. „Über „über“, „über-“ und „über und über“: Eine Betrachtung aus der Perspektive des Thailändischen. Ramkhamhaeng University Journal Humanities Edition 1,1, 2017a: 1-18. (วารสารมหาวิทยาลัยรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์)
  • Raksasri, Nichakorn/Attaviriyanupap, Korakoch. “Women as Victims of Violence in German Films”. Cultural and Religious Studies 5, 3, 2017: 123-133.
  • Attaviriyanupap, Korakoch. „Kopula oder keine Kopula? Das ist hier die Frage. Deutsche Kopulakonstruktionen mit sein aus der Perspektive des Thailändischen“. In: Akkramas, Pakini/Funk, Hermann/Traoré, Salifou (eds.): Deutsch als Fremdsprache im Spannungsfeld zwischen Globalisierung und Regionalisierung. Peter Lang. 2017b: 351-369.
  • Inkong, Bongkot/Attaviriyanupap, Korakoch (2017): „´Herz´ in Phraseologismen: Eine deutsch-thailändische kontrastive Studie“. Journal of Language, Religion and Culture 6(2): 83-101. (วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
  • Attaviriyanupap, Korakoch. „Das deutsche Kopulaverb sein und seine thailändischen Entsprechungen. Linguistik online 91, 4/18. 2018: 3-14.
  • Ender, Andrea/Marx, Nicole/Attaviriyanupap, Korakoch/Ecke, Peter/Lay, Tristan/Madlener, Karin/Painter, Ursula/Reuter, Rwald/Studer, Thomas (2019): „Rolle der Forschung und Zusammenarbeit, Netzwerke und Forschungskooperation. In: Forster Vosicki, Brigitte/Gick, Cornelia/Studer, Thomas (eds.): Sprachenpolitik: Expertenberichte und Freiburger Resolution . IDT Band 3. Berlin, Erich Schmidt, 210-224.
  • Attaviriyanupap, Korakoch (2019a): „„Killing Heinz“, aber Ziel-(sprache) nicht getroffen: Grammatische Probleme thailändischer Lernender beim Ausdruck zielgericheter Handlungen im Deutschen“. In: Barras, Malgorzata/Karges, Katharina/Studer, Thomas/Wiedenkeller, Eva (eds.): IDT 2017 Band 2: Sektionen. Berlin, Erich Schmidt: 305-311.
  • Attaviriyanupap, Korakoch (2019b): „Das thailändische Morphem lɤ:j und seine deutschen Entsprechungen: Eine kontrastive linguistische Analyse“. In 5. Internationale Deutschlehrertagung. DaF und Germanistik in Süd(Ost)asien – Nachhaltige Entwicklung und Qualitätssicherung. Dokumentation der Tagungsbeiträge. Ho-Chi-Minh, VNU-HCM-Press: 435-442.
  • Attaviriyanupap, Korakoch (2019c): „Probleme thailändischer DaF-Lernender beim Gebrauch des Akkusativs“. Ramkhamhaeng University Journal Humanities Edition 38,2: 23-38. (วารสารมหาวิทยาลัยรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์)
  • Seenlabut, Pasinee/Attaviriyanupap, Korakoch (2020): „Hollywoodfilmtitel im Deutschen und im Thailändischen“. Linguistik online 101, 1/20: 3-18.
  • Muenphakdee, Monrada/Attaviriyanupap, Korakoch (2020): „Geschlechterbilder in Liedtexten der Rapperin Sookee“. Ramkhamhaeng University Journal Humanities Editions 39,2: 103-128.
  • Intaranuch, Kongweha/Attaviriyanupap, Korakoch (2021): Die Übertragung der vorangestellten Adjektivattribute vom Deutschen ins Thailändische am Beispiel des Roman Knulp. In: Deutsche Abteilung der Ramkhamhaeng-Universität (ed.): 5. Internationale Konferenz für Deutsch als Fremdsprache in Südostasien. Kommunikative Kompetenz als Schlüsselqualifikation: Herausforderungen für die Fremdsprachendidaktik im 21. Jahrhundert. Dokumentation der Tagungsbeiträge. 21.-23. November 2019. Ramkhamhaeng Universität, Bangkok: 92-100.
  • Sintupattanapun, Weerawut/Attaviriyanupap, Korakoch (2021): Die grammatischen Übungen in Lehrwerken auf den Niveaus B1+ und B2: „Sicher!“ und „Mittelpunkt Neu“ im Vergleich. In: Deutsche Abteilung der Ramkhamhaeng-Universität (ed.): 5. Internationale Konferenz für Deutsch als Fremdsprache in Südostasien. Kommunikative Kompetenz als Schlüsselqualifikation: Herausforderungen für die Fremdsprachendidaktik im 21. Jahrhundert. Dokumentation der Tagungsbeiträge. 21.-23. November 2019. Ramkhamhaeng Universität, Bangkok: 258-266.
  • Jutunka, Natchapol/ Attaviriyanupap, Korakoch (2022): Funktionsverbgefüge im Deutschen und ihre Entsprechungen im Thai: Eine kontrastive Analyse am Beispiel der Verfassungstexte. Internationale Konferenz des Indonesischen Germanistenverbandes (iKoniG) NST Proceedings: 146-153. doi: 10.11594/ nstp.2022.1919.
  • Attaviriyanupap, Korakoch (2022): Die Funktionen der Genitivattribute und ihre Relevanz für den DaF-Unterricht. In 6. Internationale Deutschlehrertagung. DaF und Germanistik in Süd(Ost)asien: Lehre, Forschung und Praxis im Zeitalter 4.0. Dokumentation der Tagungsbeiträge. 06.-08.Oktober 2022 University of Languages & International Studies (ULIS) Hanoi. 71-82.
  • Latcharoj, Wuttikrai/Attaviriyanupap, Korakoch (2022): Kollokationen von „Pandemie“ und „COVID-19“ in Pressemitteilungen von BioNTech. In 6. Internationale Deutschlehrertagung. DaF und Germanistik in Süd(Ost)asien: Lehre, Forschung und Praxis im Zeitalter 4.0. Dokumentation der Tagungsbeiträge. 06.-08.Oktober 2022 University of Languages & International Studies (ULIS) Hanoi. 128-138.
  • Watthanapornpaisal, Chonnipa/Attaviriyanupap, Korakoch (2022): Modalpartikeln als Elemente der gesprochenen Sprache im Lehrwerk „Menschen“. In 6. Internationale Deutschlehrertagung. DaF und Germanistik in Süd(Ost)asien: Lehre, Forschung und Praxis im Zeitalter 4.0. Dokumentation der Tagungsbeiträge. 06.-08.Oktober 2022 University of Languages & International Studies (ULIS) Hanoi. 648-659.
  • Premawardhena, Neelakshi Chandrasena/Attaviriyanupap, Korakoch (2022): Reflection of Culture through Language: An Analysis of Kinship Terms in Sinhala and Thai. In: Zorba, Mehmet Galip (Ed.): The 7th International Language, Culture and Literature Symposium Book of Proceedings December 28 & 29, 2022: 71-78.
  • Kharis, M., Laksono, K., Suhartono, S./Attaviriyanupap, K. (2023): Perceptions of COVID-19-related neologisms in the German language among Indonesian and Thai GFL-learners. Humanites, Arts and Social Sciences Studies 23, 2: 341-350.

บทความทางวิชาการ บทวิจารณ์

  • กรกช อัตตวิริยะนุภาพ. “ALTER EGO : วิวาทะศิลปินไทย-ยุโรป.” ใน พลังการวิจารณ์ : รวมบทวิจารณ์ร่วมสมัย, 111-116. สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: คมบาง, 2545.
  • ________. “Creeps ละครที่เล่นกับ ‘ความจริง’ และ ‘ความลวง’.” ใน พลังการวิจารณ์ : รวมบทวิจารณ์ร่วมสมัย, 191-195. สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: คมบาง, 2545.
  • ________. “บทวิเคราะห์บทวิจารณ์ ‘หยิบวรรณคดีมาตีเป็นละครกับ ‘พิมพิลาไลย’ โดย มณฑณา ยอดจักร์.” ใน พลังการวิจารณ์ : ศิลปะการละคร บทวิเคราะห์ และสรรนิพนธ์ สาขาศิลปะการละคร จากการวิจัยเรื่อง ‘การวิจารณ์ในฐานะพลังทางปัญญาของสังคมร่วมสมัย’, 682-695. ปาริชาติ จึงวิวัฒนาภรณ์ และคณะ. กรุงเทพฯ : ณ เพชร, 2547.
  • ________. “บทแปลและบทวิเคราะห์บทสัมภาษณ์เรื่อง ‘เรือแห่งกาลเวลา’ โดยเอริกา มังค์.” ใน พลังการวิจารณ์ : ศิลปะการละคร บทวิเคราะห์ และสรรนิพนธ์ สาขาศิลปะการละคร จากการวิจัยเรื่อง ‘การวิจารณ์ในฐานะพลังทางปัญญาของสังคมร่วมสมัย’, 682-695. ปาริชาติ จึงวิวัฒนาภรณ์ และคณะ. กรุงเทพฯ : ณ เพชร, 2547.
  • ________. “บทแปลและบทวิเคราะห์บทสัมภาษณ์เรื่อง ‘ละครแบบนี้ทำให้หดหู่’ โดย แกร์ฮาร์ด เยอร์เคอร์.” ใน พลังการวิจารณ์ : ศิลปะการละคร บทวิเคราะห์ และสรรนิพนธ์ สาขาศิลปะการละคร จากการวิจัยเรื่อง ‘การวิจารณ์ในฐานะพลังทางปัญญาของสังคมร่วมสมัย’, 709-721. ปาริชาติ จึงวิวัฒนาภรณ์ และคณะ. กรุงเทพฯ : ณ เพชร, 2547.
  • ________. “บทแปลและบทวิเคราะห์บทวิจารณ์เรื่อง ‘การอุทิศตนต่อศิลปะ : ราชบัณฑิตและอุดมการณ์ในอาณาจักรไรช์ที่สาม’ โดย เอียน บูราม่า.” ใน พลังการวิจารณ์ : ทัศนศิลป์ บทวิเคราะห์ และสรรนิพนธ์ สาขาทัศนศิลป์ จากการวิจัยเรื่อง ‘การวิจารณ์ในฐานะพลังทางปัญญาของสังคมร่วมสมัย’, 627-638. จักรพันธ์ วิลาสินีกุลและคณะ. กรุงเทพฯ : ณ เพชร, 2547.
  • ________. ” ‘ราชินีแห่งสีสัน’ กับการตีความใหม่.” ใน ลายลักษณ์อักษรแห่งการวิจารณ์ : รวมบทวิจารณ์ร่วมสมัย, 179-185. เล่ม 2. คงกฤช ไตรยวงค์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : ชมนาด, 2550.
  • ________. ” ‘เราจ่ายไม่ไหว เราไม่จ่าย’ ละครที่เสียดสีสังคมบริโภคทุกยุคทุกสมัยได้อย่างสะใจ.” ใน ลายลักษณ์อักษรแห่งการวิจารณ์ : รวมบทวิจารณ์ร่วมสมัย, 173-178. เล่ม 2. คงกฤช ไตรยวงค์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: ชมนาด, 2550.
  • ________. “ทวิวัจน์ระหว่างภาษาเยอรมันกับภาษาไทยว่าด้วยเรื่องการใช้คำบุรุษสรรพนาม.” ใน ลบเส้นพรมแดนแห่งศิลปะ มิตรและศิษย์มอบให้ เจตนา นาควัชระ ในวาระอายุครบ 6 รอบนักษัตร, 271-291. สุวรรณา เกรียงไกรเพ็ชร์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2552.
  • ________. “ขนบการให้ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์: กรณีศึกษาจากมหาวิทยาลัยทือบิงเงิน” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 1 (2552): 24-49.
  • ________. “ปริทัศน์ภาพยนตร์เยอรมัน”.วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 29, 2-3 (2552): 15-63.
  • ________. “ลิเก-ลูกทุ่งเยอรมัน : กรณีตัวอย่างของการบูรณาการศิลปวัฒนธรรมไทยกับการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 34 (2555) ฉบับที่ 2: 9-38.
  • ________. “งานเขียนสร้างสรรค์รูปแบบใหม่ บูรณาการวัฒนธรรมไทยกับภาษาเยอรมัน” ใน รวมบทความวิจัย งานประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ SMARTS ครั้งที่ 3 ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วันที่ 15-16 กุมภาพันธ์ 2556. 102-112.
  • ________. “เรียนภาษาเยอรมัน ผสานวัฒนธรรมไทย มองไกลไปอาเซียน : ครุ่นคิดพินิจนึกว่าด้วยเรื่องการเรียนรู้ผ่านโครงงานและโครงงาน “ฉ่อยเยอรมัน”.วารสารมนุษยศาสตร์ ฉบับบัณฑิตศึกษา 4,2 (กรกฏาคม – ธันวาคม 2558) : 33-47.
  • เฟลิกซ์ พึล์ม / กรกช อัตตวิริยะนุภาพ (2565) คาร์ล เดอห์ริง นักเดินทางและผู้ประสานระหว่างโลกที่หลากหลาย : ภาพสะท้อนผ่านหนังสือ “ศิลปะและหัตถศิลป์ในสยาม”. วารสารอักษรศาสตร์และไทยศึกษา 44,3: AC01
  • Attaviriyanupap, Korakoch. “Max Frischs Blaubart: Zur Darstellung der Schuld eines als Blaubart Verdächtigten.” TDLV-Forum 8 (2003) : 17-29.
  • Attaviriyanupap, Korakoch. “Schweizerhochdeutsch: Ein Exkurs in eine Nationalvarietät des Deutschen”. TDLV-Forum. 12. 2008: 48–55.
  • Attaviriyanupap, Korakoch/Perrig, Gabriela. Person und Pronomen. Deutsche Morphologie. Herausgegeben von Elke Hentschel und Petra Vogel. Berlin/New York: de Gruyter, 2009: 312–326.
  • Attaviriyanupap, Korakoch. “Prädikat”. In: Hentschel, Elke (Hrsg.): Deutsche Grammatik. Berlin / New York, de Gruyter, 2010: 253–254
  • ________. “Prädikativum”. In: Hentschel, Elke (Hrsg.): Deutsche Grammatik. Berlin / New York, de Gruyter, 2010: 256–258.
  • ________. “Verb”. In: Hentschel, Elke (Hrsg.): Deutsche Grammatik. Berlin / New York, de Gruyter, 2010: 377–384.
  • ________. “Wortstellung”. In: Hentschel, Elke (Hrsg.): Deutsche Grammatik. Berlin / New York, de Gruyter, 2010: 396–399.
  • ________. “Thai-Deutsch-Kombi: Kreatives Schreiben zur Integration deutscher Sprache und thailändischer Kultur”. Begleit- und Informationsmaterial. 1. Internationale Fachtagung Deutsch als Fremdsprache zum Thema: Deutsch als Fremdsprache an Hochschulen in ASEAN. 30. November – 2. Dezember 2012. Bangkok, Ramkhamhaeng Universität, 2012: 21–30.
  • ________. “Projektorientiertes Lernen: Erfahrungen aus eigener Unterrichtspraxis“. Tagungsband. 2. Internationale Deutschlehrertagung „Zielsprache Deutsch – Erfahrungen aus der Unterrichtspraxis“. 18.–19. 10.2013. Hanoi, Hanoi Universität u. Vietnamesischer Deutschlehrerverband: 150–161.
  • ________. „Kreatives Schreiben zwischen zwei Sprachen und Kulturen. Ein interkultureller Aspekt des DaF-Unterrichts im thailändischen Kontext“. Zeitschrift für interkulturelle Germanistik 5, 1, 2014: 9-27.
  • ________. The Integration of Lukthung Songs into the German Language Teaching and Learning Process of Thai Students. MANUSYA Journal of Humanities 17, 2, 2014: 17-28.
  • ________. The linguistic representation of gender in Thai. In: Hellinger, Marli/Motschenbacher, Heiko (eds.): Gender Across Languages Volume 4. Philadelphia/Amsterdam: John Benjamin Publishing, 2015: 369-399.
  • ________. “Deutschsprachige Lukthung-Lieder als Lerngegenstand und Motivationstreiber für thailändische DaF-Lernende”. In: Götze, Lutz / Akkramas, Pakini / Pommerin-Götze, Gabriele / Traoré, Salifou (eds.): Motivieren und Motivation im Deutschen als Fremdsprache. Frankfurt a.M. etc., Lang, 2015: 309-320.
  • ________. „Über „über“, „über-“ und „über und über“: Eine Betrachtung aus der Perspektive des Thailändischen. Ramkhamhaeng University Journal Humanities Edition 1,1 (2017): 1-18.
  • Attaviriyanupap, Korakoch: „Deutsch (als Fremdsprache) als universitäres Fach in Thailand: Ein Einblick in die Lehre und Forschung“. Zeitschrift für Interkulturellen Fremdsprachenunterricht 25, 1 (April 2020) 2020: 906-910.
  • Attaviriyanupap, Korakoch: „Atemlos mit Deutsch: Möglichkeiten zur Förderung interkultureller kommunikativer Kompetenz. In: Deutsche Abteilung der Ramkhamhaeng-Universität (ed.): 5. Internationale Konferenz für Deutsch als Fremdsprache in Südostasien. Kommunikative Kompetenz als Schlüsselqualifikation: Herausforderungen für die Fremdsprachendidaktik im 21. Jahrhundert. Dokumentation der Tagungsbeiträge. 21.-23. November 2019. Ramkhamhaeng Universität, Bangkok. 2021: 32-40.
  • Premawardhena, Neelakshi Chandrasena/Attaviriyanupap, Korakoch (2022): Reflection of Culture through Language: An Analysis of Kinship Terms in Sinhala and Thai. In: Zorba, Mehmet Galip (Ed.): The 7th International Language, Culture and Literature Symposium Book of Proceedings December 28 & 29, 2022: 71-78.