ความสนใจและเชี่ยวชาญ
- การบริหารและนโยบายแรงงาน
- นโยบายสังคมและสวัสดิการสังคม
- การคุ้มครองทางสังคมสำหรับแรงงาน
- องค์การแรงงานระหว่างประเทศ
วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกและปริญญาโท
- Kritsada Theerakosonphong. (2021). Precarity and Informality in the Labour Platform: The Social Protection Recommendation for Motorcycle Taxi Drivers (D.P.A. dissertation), Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2559). การเปลี่ยนแปลงบทบาทขององค์การแรงงานระหว่างประเทศจากผลกระทบของโลกาภิวัตน์. วิทยานิพนธ์หลักสูตรพัฒนาแรงงานและสวัสดิการมหาบัณฑิต คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
รายงานวิจัย
- นฤมล นิราทร, Jorge Carrillo, และ กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2564). โครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทของเศรษฐกิจนอกระบบต่อเศรษฐกิจเมือง กรณีศึกษาการค้าอาหารข้างทางในเขตกรุงเทพมหานคร” สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายชุมชนและสังคม.
- นฤมล นิราทร, วิไลภรณ์ โคตรบึงแก, และ กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2561). โครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทของการคุ้มครองทางสังคมต่อครอบครัวต้นทางของแรงงานย้ายถิ่น: กรณีสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา ราชอาณาจักรกัมพูชา และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว” สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายนโยบายชาติและความสัมพันธ์ข้ามชาติ
บทความในวารสารวิชาการ
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์ และ สมศักดิ์ อมรสิริพงศ์. (2564). ช่องว่างของการคุ้มครองทางสังคมสำหรับผู้ขับรถจักรยานยนต์รับจ้างในกรุงเทพมหานคร. วารสารพัฒนศาสตร์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 4(2), 36-79.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2564). จุดเริ่มต้นของความไม่เป็นทางการ และข้อถกเถียงเกี่ยวกับการทำให้ไม่เป็นทางการ. HR Intelligence, 16(2), 82-106.
- นฤมล นิราทร, Jorge Carrillo, และ กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2564). ห่วงโซ่อุปทานอาหารในเศรษฐกิจเมือง: กรณีศึกษาผู้ค้าอาหารข้างทาง, วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 33(2), 103-135.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2564). การคุ้มครองทางสังคม: มาตรการของรัฐบาลไทยในการสนองตอบวิกฤติการณ์โควิด-19. วารสารธรรมศาสตร์, 40(1), 10-58. และได้รับเชิญเป็นวิทยากรของวารสารธรรมศาสตร์ ในโครงการเสวนาวิชาการประจำปีเรื่อง “ระยะห่างทางสังคมกับความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย” ในวันที่ 4 ธันวาคม 2563
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2563). บทบาทของมาตรฐานแรงงานสากลในการจัดการทรัพยากรมนุษย์ และการทำงานทางไกลระหว่างโคโรนาไวรัสแพร่ระบาด. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 32(2), 114-158.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2563). การคุ้มครองทางสังคมถ้วนหน้า: แนวทางบนพื้นฐานสิทธิสู่การสนับสนุนรายได้พื้นฐาน, วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 50(1), 103-138
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2563). การจัดการความเสี่ยงทางสังคม 2.0: การเสริมสร้างการคุ้มครองทางสังคมที่เข้มแข็งสำหรับแรงงานแพลตฟอร์มในการบริการเรียกรถโดยแอปพลิเคชัน. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 32(1), 42-87.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2563). การบริหารแรงงาน: Gig Economy ตามทัศนมิติแรงงาน. วารสารธรรมศาสตร์, 39(1), 131-158
- นฤมล นิราทร, วิไลภรณ์ โคตรบึงแก, และ กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2563). ครอบครัวที่อยู่ข้างหลังของแรงงานย้ายถิ่น: การคุ้มครองทางสังคมสำหรับคนจนและเปราะบางในเขต Ou Chrov ประเทศกัมพูชา. วารสารธรรมศาสตร์, 39(3), 78-107.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2563). บทสำรวจวรรณกรรมเบื้องต้นต่อแนวคิดของสำนักบริหารระหว่างประเทศและกรณีศึกษาของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ในสำนักงานแรงงานระหว่างประเทศ. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,11(2), 279-314.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2563). การจัดการภาครัฐใหม่ (NPM): ความสัมพันธ์ตามสัญญาในรูปแบบใหม่ของการว่าจ้างภายนอกและเศรษฐกิจแบ่งปัน. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 5(2), 1-45.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). การลงทุนกองทุนประกันสังคมสู่การเสริมสร้างระบบความมั่นคงทางสังคมในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, 8(1), 43-75
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). แนะนำความคิดของ Guy Standing: การฉ้อฉลของทุนนิยมผูกขาดและแรงงานที่มีความเสี่ยง. วารสารธรรมศาสตร์, 38(3), 112-129.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). 20 ปี ของงานที่มีคุณค่า และการอภิบาลแรงงานในห่วงโซ่อุปทานโลก. HR Intelligence, 14(2), 122-154
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). ประเด็นเชิงวิพากษ์ในนโยบายสังคมโลกและการอภิบาลเพื่อลดความยากจน: จากความมั่นคงทางสังคมสู่การคุ้มครองทางสังคมขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ. วารสารพัฒนศาสตร์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2(1), 151-205.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). แนวทางการศึกษานโยบายเชิงวิพากษ์สู่การวิเคราะห์นโยบายสาธารณะ. วารสารรัฐศาสตร์นิเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 5(1), 151-200.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). การตีความทางประวัติศาสตร์ของการบริหารภาครัฐและการอภิบาลในประเทศไทย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 17(2), 77-97.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). การบริหารเมืองและเศรษฐกิจไม่แบ่งปันในเมืองอัจฉริยะ: การทบทวนความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างและตัวแสดง. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 31(2), 10-55.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). รูปแบบของงานที่ไม่มีมาตรฐานและแรงงานที่มีความเสี่ยงในเศรษฐกิจแพลตฟอร์ม. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4(2), 59-107.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). ความท้าทายของอุตสาหกรรม 4.0 และวาระคนเป็นศูนย์กลางเพื่ออนาคตของงาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 10(ฉบับพิเศษ), 1-39.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). ปริทัศน์หนังสือ What Do We Know and What Should We Do About the Future of Work?. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2(2), 113-122.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). การครองอำนาจนำและการตอบโต้การครองอำนาจนำในองค์การแรงงานระหว่างประเทศ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 10(1), 145-177.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). ปริทัศน์หนังสือ Universal Basic Income: Pennies from Heaven. วารสารธรรมศาสตร์, 38(2), 16-32.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). ปริทัศน์หนังสือ Labour. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 31(1), 171-185.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). ปริทัศน์หนังสือ Basic Income: And How We Can Make It Happen. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. มหาวิทยาลัยพะเยา, 7(1), 1-12.
- Narumol Nirathron & Kritsada Theerakosonphong. (2018). Social Protection for Those Who Are Left Behind: Proposed Recommendations for Consideration. Thammasat Review, 21(1), 93-110.
- นราเขต ยิ้มสุข และ กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2561). การส่งเสริมการมีงานทำและการจัดการความหลากหลายของคนพิการในวาระประเทศไทย 4.0. วารสารพัฒนาสังคม สถาบันพัฒนบริหารศาสตร์, 20(1), 75-96.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2561). การปฏิรูปเชิงสถาบันขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ: การกำหนดและตัดสินใจของผู้อำนวยการใหญ่ในความริเริ่มหนึ่งศตวรรษอนาคตของงาน. HR Intelligence, 13(1), 118-139.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2561). อนุสัญญาฉบับที่ 87 และ 98 ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ: การทบทวนบริบททางประวัติศาสตร์เพื่อการตัดสินใจให้สัตยาบันของรัฐบาลไทย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 16(1), 111-128.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2561). ทุนนิยมโปเกม่อน: จากวัฒนธรรมสมัยนิยมญี่ปุ่นสู่การครองอำนาจนำทางวัฒนธรรม. วารสารธรรมศาสตร์, 37(3), 39-60.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2561). วิกฤติเชิงโครงสร้างของระบบทุนนิยมโลก: การบรรจบกันของการคุ้มครองทางสังคมกับเศรษฐกิจพอเพียง. วารสารโพธิวิจัย วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2(2), 39-74.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2561). ปริทัศน์ข้ออภิปรายถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยแรงงานโลก: การสร้างหุ้นส่วนทางสังคมและเวทีเสวนาสังคมในยุคโลกาภิวัตน์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 11(2), 109-137.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2561). ปริทัศน์หนังสือ Global Social Policy in the Making: The Foundations of the Social Protection Floor. วารสารธรรมศาสตร์, 37(2), 163-170.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2561). ปริทัศน์หนังสือ American Hegemony after the Great Recession: A Transformation in World Order. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 9(2), 249-257.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2561). ปริทัศน์หนังสือ To Reform the World: International Organizations and the Making of Modern States Written. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 1(1), 130-135.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2560). ความคิดของ Robert W. Cox ว่าด้วยอารยธรรมกับการครองอำนาจนำของสหรัฐอเมริกา. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 8(2), 151-168.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2560). ชีวิตและความคิดของ Robert W. Cox ระหว่างการทำงานในองค์การแรงงานระหว่างประเทศ. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2(2), 55-85.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2560). การให้สัตยาบันของประเทศไทยในอนุสัญญาว่าด้วยการเลือกปฏิบัติสำหรับการจ้างงานและอาชีพ ฉบับที่ 111 ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ. วารสารสังคมศาสตร์ นิติรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎร้อยเอ็ด, 1(2), 1-25.
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2560). การเคลื่อนย้ายถิ่นฐานของแรงงานและบทบาทขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, 5(2), 60-81.
บทความในขั้นตอนระหว่างดำเนินการ
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2565). สถานะองค์ความรู้ปัจจุบันและทิศทางในอนาคตของนโยบายสังคม: การพัฒนาระบบการคุ้มครองทางสังคมเพื่อส่งเสริมความกินดีอยู่ดีและลดความขัดแย้งทางสังคม. วารสารธรรมศาสตร์, 41(1), n/a. (ตอบรับแล้ว จะเผยแพร่เดือน เมษายน 65)
- Kritsada Theerakosonphong & Somsak Amornsiriphong. The Interplay of Labor and Capital Perspectives on Formalization Approaches: Motorcycle Taxi Drivers in Bangkok. Heliyon. (ตอบรับบนหลักการแล้ว – Q1 -SCImago)
- Kritsada Theerakosonphong. Reconsidering Social Protection for Motorcycle Taxi Drivers: Understanding Precarity in Formalized Informality. Asian Review, Institute of Asian Studies Chulalongkorn Universit. (ตอบรับแล้ว ระหว่างตรวจทาน)
- การฝึกงาน : ช่องว่างของมาตรฐานแรงงานสากลและกฎหมายแรงงานในประเทศไทย. ระหว่างการพิจารณาโดยกองบรรณาธิการวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ส่งเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 65)
รายงานการศึกษา
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2563). โครงการศึกษาเรื่อง “ยุทธศาสตร์และโครงสร้างขององค์กรแรงงานในประเทศไทย” สนับสนุนโดย Friedrich-Ebert Stiftung (FES Thailand), (เอกสารเผยแพร่เฉพาะภายใน FES)
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2562). กรณีศึกษาการทำงานของเยาวชนโดยแอปพลิเคชันเรียกรถและบริการส่งอาหาร: ข้อเสนอเพื่อทบทวนนโยบายแรงงานและภารกิจของกระทรวงแรงงาน. รายวิชาการศึกษาดูงานด้านนโยบายสาธารณะ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหิดล ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงแรงงาน. จำนวน 62 หน้า สืบค้นที่ ศูนย์วิจัยแรงงานแห่งชาติ ใน http://nlrc.mol.go.th/docDetails/xfHLSHe
หนังสือที่ระลึก
- หนังสือฉลองครบรอบ 100 ปี ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ” (International Labour Organization: ILO) ในโอกาสเฉลิมฉลองความสัมพันธ์ของการที่ประเทศไทยเป็นสมาชิกกับ ILO และจัดพิมพ์และเผยแพร่ฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เมื่อวันที่ 11 เมษายน 2562 ที่กระทรวงแรงงาน (เขียนร่วมกับ อ.ศักดินา ฉัตรกุล ณ อยุธยา)
หนังสือรวมบทความ
- กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์. (2563). แนวทางการศึกษาเชิงวิพากษ์สู่ประเด็นร่วมสมัยในแรงงานศึกษา ในหนังสือ สู่อริยรัฐ: รวมความคิดและจินตนาการด้วยความรักและมิตรภาพเพื่อเป็นเกียรติในวาระ 60 ปี โชคชัย สุทธาเวศ, 491-546. (ISBN : 978-974-9711-15-6)
บทความออนไลน์และบทสัมภาษณ์
- เอกสารประกอบเสวนา เรื่อง “อุปสรรคของการเป็นรัฐสวัสดิการของประเทศไทยภายใต้ฐานคิดการสงเคราะห์แบบการกุศล” ในงานเสวนา “จากประวัติศาสตร์แรงงานสู่รัฐสวัสดิการไทย” โดยเครือข่าย We Fair ในวันที่ 27 พฤศจิกายน 64 ณ พิพิธภัณฑ์แรงงานไทย และเผยแพร่บทความในเว็บไซต์ We Fair ใน
- ตอนที่ 1 https://bit.ly/3AVydIl
- ตอนที่ 2 https://bit.ly/33U37Vq
- ตอนที่ 3 https://bit.ly/3rbjLse
- Podcast ตอนที่ 43 กฎหมายและระบบสวัสดิการแรงงานแพลตฟอร์ม ในรายการของ The Active โดย Thai PBS และ สถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม ในวันที่ 25 กรกฎาคม 64, https://bit.ly/35AqpzZ
- บทสัมภาษณ์ “เศรษฐกิจติดเชื้อ เยียวยาแล้วยังไง อ่านลมหายใจผู้ค้าริมทาง กับ กฤษฎา ธีระโกศลพงศ์”. เผยแพร่เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 64 [Fair Debt Thailand] สืบค้นจาก https://bit.ly/3g4QNny
- ประวัติศาสตร์ของนโยบายและการบริหารแรงงาน ในสมัยรัฐบาล ป. พิบูลสงคราม (2491-2500). เผยแพร่เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2564 ใน (1) https://bit.ly/2QFqgnV
- ถอดการสัมมนา ผู้ใช้แรงงานร่วมชี้ชะตาก้าวต่อไปของพิพิธภัณฑ์แรงงานไทย ในสถานะสถาบันด้านแรงงาน. เผยแพร่เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2564 ใน https://bit.ly/3sjNeQj
- ผลกระทบทางอาชีพของผู้ขับขี่จักรยานยนต์สาธารณะจากวิกฤติ COVID. เผยแพร่เมื่อวันที่ 10 เมษายน 63 ใน https://prachatai.com/journal/2020/04/87195
- Street Food อยู่อย่างไรในวันที่ผู้คน Work from Home. WAY Magazine. เผยแพร่เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 63 ใน https://waymagazine.org/covid-19-street-vendor/
- ทัศนะบางประการหลังจากชมสารคดี American Factory. เผยแพร่ในศูนย์แม่โขงศึกษา สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ใน https://www.mekongchula.org/post/american-factory
- 100 ปี ขององค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO): บทเรียนทางประวัติศาสตร์และการเมืองโลกเพื่อก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 2. เผยแพร่ครั้งแรกในประชาไท ใน https://bit.ly/3GaSNoX