อาจารย์ ดร.พิภู บุษบก

Instructor

PIPU BOOSABOK, Ph.D.

boosabok_p@silpakorn.edu
092-2990589

วุฒิการศึกษา

2561 Doctor of History (World History) Xiamen University
2556 Master of History (Ancient Chinese History) Beijing Normal University
2553 อักษรศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาเอเชียศึกษา) (เกียรตินิยมอันดับ 1) คณะอักษรศาสตร์มหาวิทยาลัยศิลปากร

ตำแหน่งงานในปัจจุบัน

2561 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัย

  • ศุภการ สิริไพศาล และพิภู บุษบก. รายงานการวิจัยการแปลและศึกษาเอกสารจีนโบราณเกี่ยวกับไทยในบริบทของเส้นทางสายไหม. สนับสนุนโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2560.
  • พิภู บุษบก. รายงานการวิจัย เรื่อง เอกสารจีนสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงที่เกี่ยวกับไทย. สนับสนุนโดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2562.

หนังสือ

  • พิภู บุษบก. พัฒนาการของกลุ่มทุนจีนในภาคอีสานตอนบนของประเทศไทย พ.ศ.2474-2559. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2560.

บทความ

  • พิภู บุษบก. “ตุนหวง: ดินแดนแห่งพระพุทธศาสนาในประเทศจีน.” วารสารอักษรศาสตร์ 34, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2555): 183-212.
  • พิภู บุษบก. “พระนางซูสีไทเฮากับประเด็นข้อโต้แย้งทางประวัติศาสตร์.” วารสารอักษรศาสตร์ 35, 1 (มกราคม – มิถุนายน 2556): 108-141.
  • พิภู บุษบก. “ปัญหา ‘จีนในร่มธง’ และแนวคิดการจัดตั้งกงสุลจีนประจำสยามสมัยรัชกาลที่ 5.” วารสารอักษรศาสตร์ 36, 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2557): 107-133.
  • [泰] 云俊杰. “21世纪‘海上丝绸之路’与泰中经贸关系发展.” 第四届中泰战略研讨会, 2015年7月26-27日, 华侨大学.
  • [中] 庄国土、[泰] 云俊杰. “中泰一家亲: 两千年友好关系的回顾和展望.” 泰国研究报告, 1-35. 庄国土、张禹东主编. 北京: 中国社会科学出版社, 2016.
  • พิภู บุษบก. พัฒนาการของกลุ่มทุนจีนในภาคอีสานตอนบนของประเทศไทย พ.ศ.2474-2559. ใน ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์ สถานภาพความรู้ปัจจุบัน ลำดับที่ 4, 67-98. ศุภการ สิริไพศาล และชัยพงษ์ สำเนียง, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: ศักดิ์โสภาการพิมพ์, 2560.
  • พิภู บุษบก. “ถิ่นกำเนิดของบรรพบุรุษและคำเรียกขานที่บ่งบอกอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของชาวไทยเชื้อสายจีน.” การประชุมวิชาการระดับชาติ “สถาปัตย์กระบวนทัศน์ ประจำปี พ.ศ. 2560” ระหว่างวันที่ 9-10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิริธร องค์การมหาชน.
  • พิภู บุษบก. “อิทธิพลจีนในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง: ผลต่อภาคอีสาน.” การประชุมวิชาการระดับชาติพื้นถิ่นโขง ชี มูล ราชภัฎอุดรธานี ครั้งที่ 3: ถอนรื้อพรมแดนความรู้ “ความท้าทายของสหวิทยาการในการพัฒนาท้องถิ่นโขง ชี มูล” วันพฤหัสบดีที่ 25 ตุลาคม 2561 ณ ห้องประชุม 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ศูนย์การเรียนรู้พุทธศิลป์ถิ่นอีสาน สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี.
  • Pipu Boosabok. “Belt and Road Initiative and the Development of Northeastern Region of Thailand.” The Eighth Chinese – Thai Strategic Research Seminar 25-29 June 2019 Huaqiao University, Xiamen, People’s Republic of China. pp. 90-99.
  • พิภู บุษบก และศุภการ สิริไพศาล, “ความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่างจีนกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยราชวงศ์ฉินถึงราชวงศ์หยวน (221 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ.1368).” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 40, 3 (พฤษภาคม – มิถุนายน 2563): 62-74. (TCI2)
  • พิภู บุษบก, “เอกสารจีนสมัยราชวงศ์หมิงและราชวงศ์ชิงที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยสมัยอยุธยา.” วารสารอักษรศาสตร์และไทยศึกษา 44, 1 (มกราคม – เมษายน 2565): 134-145. (TCI1)
  • Ai Lijuan and Pipu Boosabok, “Spatial Characteristics of Miao Settlements in Changning, Yunnan Province, China.” Journal of Letters 52, 1 (January – June 2023): 150-171. (TCI1)