ศาสตราจารย์พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์

Professor

PONGSIN AROONRAT

pongsilp@hotmail.com

วุฒิการศึกษา

  • มัธยมศึกษาตอนต้น จากโรงเรียนเซนต์คาเบรียล พ.ศ. 2526 รุ่น 65
  • มัธยมศึกษาตอนปลาย จากโรงเรียนเตรียมอุดม พ.ศ. 2529 รุ่น 46
  • ศิลปศาสตรบัณฑิต (ดนตรี) จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2533
  • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (วัฒนธรรมการดนตรี) มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2537
  • ดุริยางคศาสตร์ดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ (ดนตรีไทย) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2564

 

ศาสตราจารย์พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์ เกิดเมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2511 บิดาชื่อ ศาสตราจารย์เกียรติคุณอุดม อรุณรัตน์ มารดาชื่อ นางพนิดา อรุณรัตน์ ปัจจุบันดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ประจำภาควิชานาฏยสังคีต คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

 

การศึกษาด้านดนตรีไทย

เริ่มเรียนซอสามสายจากบิดาคือศาสตราจารย์อุดม อรุณรัตน์ตั้งแต่อายุ 14 ปี จนได้รับการถ่ายทอดเพลงซอสามสายทั้งสายราชสำนักที่สืบทอดมาจากพระยาภูมีเสวิน (จิตร จิตตเสวี) และสายขุนนางที่สืบทอดมาจากอาจารย์ภาวาส บุนนาคไว้ทั้งหมด เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติซอสามสาย ดนตรีในราชสำนัก การบรรเลงมโหรีหลวงแบบกรุงศรีอยุธยา จนเป็นที่ยอมรับในวงการดนตรีไทย ศาสตราจารย์พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์เป็นผู้ที่บุกเบิกดนตรีไทยภาควิชาการจนเป็นที่ยอมรับว่าเป็นผลงานที่ทรงคุณค่า โดยผลิตสร้างผลงานต่าง ๆ ที่มีคุณภาพมาอย่างต่อเนื่อง ได้รับโปรดเกล้าฯ เป็นศาสตราจารย์สาขาสังคีตศิลป์ไทย เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2558 ด้วยอายุเพียง 46 ปี ซึ่งถือว่าเป็นศาสตราจารย์ทางดนตรีไทยที่อายุน้อยที่สุด

 

บทความวิจัยที่พิมพ์ระดับนานาชาติ

  • Pongsilp, Arunrat The Way of Music : Phraya Phomeesewin ระยะเวลาวิจัยตั้งแต่ มิถุนายน 2557 – มิถุนายน 2558 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยสร้างสรรค์จากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โดยเสนอผลงานวิจัยในการประชุม The European Conference on Culture Studies 2015 Education จัดโดยองค์กรThe International Academic Forum (Iafor) ณ เมืองไบรตัน ประเทศอังกฤษ
  • Pongsilp, Arunrat The Innovation of Music and Computer Courses Designed to Improve the Skills โดยเสนอผลงานวิจัยในการประชุม The Seventh Asian Conference on Education จัดโดยองค์กรThe International Academic Forum (Iafor) ณ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่นระหว่างวันที่ 21 – 25ตุลาคม พ.ศ. 2558
  • Pongsilp, Arunrat Melodious Sound of Saw Sam Sai : Recording, Analytical Program Notes and Music Notaion ได้รับทุนอุดหนุนจากสำนักงานส่งเสริมการวิจัยแห่งชาติ (สกว) ระยะเวลาวิจัยตั้งแต่ กันยายน 2558 – กันยายน 2559 เสนอผลงานวิจัยในการประชุม The Asian Conference of Education (ACE2015) จัดโดยองค์กร The International Academic Forum (Iafor) ณ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น
  • Pongsilp, Arunrat. “The Brotherhood of Spike fiddle: Arabian “Rebab” in Indonesia and Thailand.” In Proceedings of the Asian Court music, Bamboo Culture, and Organology Conferences, Tokyo-Bangkok, 2015-2016. Bangkok: Chulalongkorn University Press 2017.
  • Pongsilp, Arunrat Ayutthaya’s Series Song : Recorded digital video disc (DVD) , Analytical Program Notes and Music Notaion.ได้รับทุนอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) ระยะเวลาวิจัยตั้งแต่ เมษายน 2560 – เมษายน 2561 เสนอผลงานวิจัยที่ The Asian Conference on Media, Communication & Film จัดโดยองค์กรThe International Academic Forum (Iafor) ณ เมืองโกเบ ประเทศญี่ปุ่น เมื่อปี 2560
  • Pongsilp, Arunrat Status of Traditional Thai Music Education in Thai Universities นำเสนอบทความที่ The Asian Conference of Education (ACE2018) จัดโดยองค์กร The International Academic Toshi Center Hotel, Tokyo, Japan Saturday, October 13 – Monday, October 15, 2018
  • Pongsilp, Arunrat Buddhism and the promotion of Thai music education นำเสนอบทความที่ International Conference on Language,Education, Humanities&Innovation (ICLEHI)2020. The Interdisciplinary Circle of Science, Arts and Innovation (ICSAI) ที่ The Royal Plaza on Scotts, February 22-23 ,202

บทความวิจัยที่พิมพ์ระดับชาติ

  • พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์. (2564). “การทำงานสร้างสรรค์สำหรับดนตรีไทย” วารสารสุริยวาฑิต มหาวิทยาลัย ราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 4, 1 : 55-62.
  • ________. (2562). “การทำงานวิชาการรับใช้สังคมสำหรับดนตรี” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี 15, 1 : 157-167.
  • ________. (2548). “เพลงโหมโรงมะลิเลื้อย : อุทาหรณ์สำหรับนักดนตรีไทยในปัจจุบัน.” วารสารคำดนตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น 5, 1 : 4-9.
  • ________. (2547). “The evolution of Thai Music หนังสือวิชาการดนตรีไทยในยุครัฐนิยม.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 26, 1 : 149-163.
  • ________. (2546). “อานิสงส์ของดนตรีไทยจากกระแสภาพยนตร์เรื่องโหมโรง.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 25, 2 : 128-158.
  • ________. (2545). “เพลงมโหรีต้นแบบของเพลงไทย.” วารสารคำดนตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น 4, 1 : 6.
  • ________. (2545). “102 ปี แห่งงานบันทึกทาง Ethnomusicology กับดนตรีไทย.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 21-22, 2 : 45-63.
  • ________. (2545). “ร้องลำเพลงมโหรีสมัยอยุธยา.” วารสารคำดนตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น 4, 2 : 4-12.
  • ________. (2543). “ประวัติการบันทึกโน้ตเพลงในดนตรีไทย.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 19-20, 1 : 182-215.
  • ________. (2543). “พระสุจริตสุดา คีตกวีหญิงในราชสำนักรัชกาลที่ 6.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 1, 22 :164-174.
  • ________. (2542). “แผ่นเสียงตับนางลอยงานบันทึกทางประวัติศาสตร์ทางดนตรีไทย.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 2, 21 : 234-249.
  • ________. (2541). “เพลงเขมรปี่แก้วทางสักวาของจางวางทั่ว พาทยโกศล.” วารสารคำดนตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น 3, 1 : 10.
  • ________. (2541). “เม็ดพรายทำนองสุนทรียศาสตร์อย่างหนึ่งของดนตรีไทย.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 1, 21 : 67-75.
  • ________. (2540). “การทำทางเดี่ยวซอสามสาย.” วารสารคำดนตรี มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2, 2 : 15-19.

ผลงานตำราและหนังสือ

  • พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์ ดนตรีเผ่าพันธุ์ (Ethnic Music) สำนักพิมพ์คีตวลี จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ กรุงเทพฯ 2547
  • พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์. สังคีตสมัย โครงการตำราและหนังสือคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร : นครปฐม .2556
  • พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์. มโหรีวิจักษณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 2) ,จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ : กรุงเทพฯ 2556
  • พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์. ปฐมบทดนตรีไทย (พิมพ์ครั้งที่ 4) โครงการตำราและหนังสือคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร : นครปฐม 2559

ผลงานวิจัย

  • พูนพิศ อมาตยกุลและพงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์ “การใช้เครื่องดนตรีตะวันตกบรรเลงเพลงเดี่ยว งานวิจัยจากหลักฐานการบันทึกเพลงไทย” ได้นำเสนอและตีพิมพ์เผยแพร่ในเอกสารการประชุมวิชาการดนตรีมหาวิทยาลัยมหิดล ครั้งที่ 3 2541.
  • พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์ ดนตรีไทยเชิงสร้างสรรค์เพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชน(Creative Thai Music for Community Economy Promotion) ระยะเวลาวิจัยตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม 2553 – มิถุนายน 2554 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากโครงการไทยเข้มแข็ง พ.ศ.2553 จากกระทรวงพาณิชย์พิมพ์เผยแพร่ผลการวิจัยเดือนมิถุนายน 2554.
  • พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์ สังคีตแห่งวิถี พระยาภูมีเสวิน (The Way of Music : Phraya Phomeesewin) ระยะเวลาวิจัยตั้งแต่ มิถุนายน 2557 – มิถุนายน 2558 ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยสร้างสรรค์จากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์ นวัตกรรมการสอนแบบบูรณาการ วิชาดนตรีกับคอมพิวเตอร์เพื่อพัฒนาทักษะในด้านสังคีตศิลป์ไทย ได้รับทุนอุดหนุนจากโครงการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร ระยะเวลาวิจัยตั้งแต่ มกราคม – กรกฎาคม พ.ศ.2558
  • Pongsilp, Arunrat. “The Brotherhood of Spike fiddle: Arabian “Rebab” in Indonesia and Thailand.” In Proceedings of the Asian Court music, Bamboo Culture, and Organology Conferences, Tokyo-Bangkok, 2015-2016. Bangkok: Chulalongkorn University Press.
  • พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์ เสียงเสนาะซอสามสาย : การบันทึกเสียงพร้อมบทวิเคราะห์และโน้ตสากล (Melodious Sound of Saw Sam Sai : Recording, Analytical Program Notes and Music Notaion) ได้รับทุนอุดหนุนจากสำนักงานส่งเสริมการวิจัยแห่งชาติ (สกว) ระยะเวลาวิจัยตั้งแต่ กันยายน 2558 – กันยายน 2559
  • พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์ เพลงมโหรีกรุงศรีอยุธยา: การบันทึกแผ่นวีดิทัศน์พร้อมบทวิเคราะห์และโน้ตสากล ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมวิจัยแห่งชาติ (วช.) การสร้างสรรค์วิชาการงานศิลป์ ประจำปีงบประมาณ 2560

เกียรติคุณและรางวัลที่ได้รับ

  1. รับพระราชทานเข็มมโหรีเชิดชูเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี สำนักงานส่งเสริมเยาวชนแห่งชาติและธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) ปี 2537
  2. ประกาศเกียรติคุณเมื่อคราวที่ได้รับเชิญไปแสดงซอสามสายและบรรเลงมโหรีในงาน Piri Festival ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว ปี 2538
  3. รางวัลมหิดลทยากร ประจำปีพุทธศักราช 2559 มหาวิทยาลัยมหิดล ปี 2559
  4. รางวัลศิลปากรสร้างสรรค์ ปี 2559
  5. รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ: รางวัลผลงานวิจัย ประจำปี 2560 รางวัลระดับดีมาก เรื่อง “เสียงเสนาะซอสามสาย: การบันทึกเสียงพร้อมบทวิเคราะห์และโน้ตสากล” สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2561
  6. รางวัลผู้ทำชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี 2563
  7. รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ: รางวัลผลงานวิจัย ประจำปี 2563 รางวัลระดับดีเด่น เรื่อง “เพลงมโหรีกรุงศรีอยุธยา: การบันทึกแผ่นวีดิทัศน์ พร้อมบทวิเคราะห์และโน้ตสากล” สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ปี 2563 (ผลงานวิจัยสร้างสรรค์ทางดนตรีชิ้นแรกที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีเด่น)

ช่องเผยแพร่ผลงาน บน youtube

ชื่อ Prof.Pongsilp Arunrat

https://www.youtube.com/channel/UCcTQseDNyg4av1r3_4h34VQ