ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พวงทิพย์ เกียรติสหกุล

Assistant Professor

PUENGTHIP KIATTISAHAKUL, Ph.D.

jibartsu@hotmail.com

วุฒิการศึกษา

  • อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2548)
  • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2538)
  • อักษรศาสตรบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2531)

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  • ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่
  • ประวัติศาสตร์การทูตไทย
  • ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่น

วิทยานิพนธ์

  • พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. “บทบาทของชาวจีนและชาวตะวันตกต่อกิจการเหมืองแร่ดีบุกของมณฑลภูเก็ตตั้งแต่ต้นพุทธศตวรรษที่ 25 –..2474.” วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2534.
  • _______. “กองทัพญี่ปุ่นกับทางรถไฟสายใต้ของไทย สมัยสงครามมหาเอเชียบูรพาระหว่าง .. 2484-2488.” วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547.

ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

  • พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. (2564). “การศึกษาของพระบรมวงศานุวงศ์ในประเทศฝรั่งเศส สมัยรัชกาลที่ 5 – รัชกาลที่ 7.” ใน สองศตวรรษแห่งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศฝรั่งเศสและประเทศไทย, 57-90. โครงการวิจัย 2 ศตวรรษแห่งความสัมพันธ์ระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศไทย ได้รับการสนับสนุนการวิจัยจากวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยศิลปากร. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
  • ชุลีพร วิรุณหะ, วรพร ภู่พงศ์พันธุ์, พวงทิพย์ เกียรติสหกุล, วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ และเพชรดา ชุนอ่อน. (2560). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการจัดการข้อมูลประวัติศาสตร์เพื่อเพิ่มศักยภาพในการ นำไปประยุกต์ใช้พัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของอำเภอเมืองเพชรบุรี. กรุงเทพฯ : ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

หนังสือ ตำรา

  • พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. (2555). ญี่ปุ่นกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ..1945-1975 นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • _______. (2554). ทางรถไฟสายใต้ในเงาอาทิตย์อุทัย โครงการตำราและหนังสือคณะอักษรศาสตร์:โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

บทความทางวิชาการ

ระดับชาติ

  • ยิ่งยศ บุญจันทร์, พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. (2566). “การรักษาอำนาจทางการเมืองของสมเด็จพระอุปยุวราชนโรดมสีหนุกับการสร้างกระแสชาตินิยมจากปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างกัมพูชากับไทย ค.ศ. 1955-1970.” วารสารอักษรศาสตร์และไทยศึกษา 45,2 (พฤษภาคม-สิงหาคม): E1719. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
  • ยิ่งยศ บุญจันทร์, พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. (2565). ““แผนการกรุงเทพฯ”: แผนโค่นล้มสมเด็จพระอุปยุวราชนโรดมสีหนุ (1958-1959).” วารสารอักษรศาสตร์และไทยศึกษา 44, 1 (กันยายน-ธันวาคม): ARTS-44-3-2022-R09. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
  • พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. (2565). “หลักฐานทางประวัติศาสตร์กับความสำคัญของเกลือสมุทรเมืองเพชรบุรี สมัยรัชกาลที่ 4 – หลังสงครามโลกครั้งที่ 2.” วารสารอักษรศาสตร์และไทยศึกษา 44, 1 (มกราคม-เมษายน): 110-133. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
  • สุพาพรรณ สกุลเจริญพร, พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. (2564). “จังหวัดนนทบุรีกับการขยายตัวของบ้านจัดสรร ระหว่าง พ.ศ. 2525-2537.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 43, 1 (มกราคม-มิถุนายน): 133-154.
  • พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. (2563). “การศึกษาของพระบรมวงศานุวงศ์ไทยในประเทศฝรั่งเศส สมัยรัชกาลที่ 5 – รัชกาลที่ 7.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 42, 1 (มกราคม-มิถุนายน): 1-23.
  • ชุลีพร วิรุณหะ, วรพร ภู่พงศ์พันธุ์, พวงทิพย์ เกียรติสหกุล, วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ และเพชรดา ชุนอ่อน. (2561). “‘ประตูสู่อุษาคเนย์’ : มุมมองใหม่ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์เมืองเพชรบุรี” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 40, 1 (มกราคม – มิถุนายน) : 11-50. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
  • พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. (2560). “โชกุนกับการควบคุมอำนาจทางการเมืองการปกครองสมัยโทะกุงะวะตอนต้น .. 1603-1651.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 39, 1 (..-มิ..): 64-85. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
  • ________. (2558). “5 ทศวรรษของการขยายอำนาจจักวรรดินิยมทางการทหารของญี่ปุ่น คศ. 1895-1945.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 37, 2 (.. – ..): 78-102. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1)
  • พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. (2551).”ชีวิตราษฎรไทยสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา: มุมมองผ่านการเข้ามาควบคุมทางรถไฟสายใต้ของกองทัพญี่ปุ่น“. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 30 ฉบับที่ 1: 117 – 137.
  • _______. (2551). “ความสำคัญของภาคใต้ต่อกองทัพญี่ปุ่นสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา“. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 30 ฉบับที่ 2: 78 – 131.
  • _______. (2545). “วาทกรรมว่าด้วยกองทัพญี่ปุ่นในสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา : ความทรงจำผ่านทางรถไฟสายมรณะ.” วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2, 31 (กรกฎาคมธันวาคม 2545) : 74-101.
  • _______. (2545). “การศึกษาการขยายตัวของกองทัพญี่ปุ่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา : มุมมองทางสังคมวัฒนธรรม.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 25, 1 (มิถุนายนพฤษภาคม 2545) : 23-51.
  • โยชิกาวา โทชิฮารุ, เขียน. นิภาพร รัชตพัฒนากุล, แปล. พวงทิพย์ เกียรติสหกุล, เรียบเรียง. “กองทัพญี่ปุ่นในประเทศไทยภายใต้การเป็นพันธมิตรญี่ปุ่นไทย.” วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร 3, 21-22 (2544-2545) : 197-217.
  • พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. “กิจการเหมืองแร่ดีบุกของชาวจีนในมณฑลภูเก็ต ..2500-2474.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 19 (2539-2540) : 71-91.

ระดับนานาชาติ

  • Kiattisahakul, Puengthip. (2015). “The Japanese army and the control of southern Thai railways 1941- 1945.” In the proceedings of the International Conference Vietnam Indochina-japan relations during the World War II: document and interpretations, Waseda University, Vietnam, September 18-19, 2015.
  • ________. (2007). “The Japanese army and Thailand’s southern railways during the Greater East Asian War, 1941 – 1945.”  Asian Review 17: 59 -92.

เอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน

  • พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. “ประวัติศาสตร์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศของไทย.” ใน เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 415 232 ประวัติศาสตร์การทูตไทย. ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548.

เอกสารประกอบการประชุมสัมมนา

  • พวงทิพย์ เกียรติสหกุล. “ความสำคัญของภาคใต้ต่อกองทัพญี่ปุ่นสมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา.” เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาทางวิชาการเรื่อง หนึ่งทศวรรษการศึกษาประวัติศาสตร์ภาคใต้, 2550.
  • _______. “เส้นทางรถไฟสายใต้สมัยสงครามมหาเอเชียบูรพา : ภาพสะท้อนชีวิตราษฎรไทย.” ใน เอกสารประกอบการสัมมนาไทยกับเอเชีย : สายใยอดีตถึงปัจจุบัน สายสัมพันธ์สู่อนาคต, 76-100. ... : ภาควิชาประวัติศาสตร์ ฝ่ายวิจัย คณะอักษรศาสตร์ และสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549.