สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ
- ดนตรีไทย
- ดนตรีพื้นเมือง
- กลุ่มดนตรีชาติพันธุ์
ปริญญานิพนธ์
- สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว. จาบุีฎงแวง (ចាប៉ីដងវែង): บริบทวัฒนธรรมดนตรีกัมพูชา. ปริญญานิพนธ์ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขามานุษยดุริยางควิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
- ศรีนครินทรวิโรฒ, 2563.
- กิติวัฒน์ กิ่งแก้ว. ขับซอล่องน่านของ ลำดวน คำแปน. ปริญญานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขามนุษยดุริยางควิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2553.
ผลงานวิจัย
ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
- สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว. (2557). “วิธีการสร้างกระจับปี่ของนายบุญรัตน์ ทิพรัตน์.” นครปฐม, กองทุนวิจัยและสร้างสรรค์คณะ อักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีงบประมาณ 2555.
- มุจรินทร์ อิทธิพงษ์ สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว และสราวุท ตันณีกุล. (2556). “ละครร่วมสมัยเรื่อง “น้ำใสใจจริง 2556” ผลงาน สร้างสรรค์ผ่านการบูรณาการทางศิลปะการแสดงร่วมสมัย ดนตรี และทัศนศิลป์”. นครปฐม, ทุนสนับสนุนจาก สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร ประจำปี พ.ศ. 2556.
- พงษ์ศิลป์ อรุณรัตน์ และสิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว. (2555) “ดนตรีไทยเชิงสร้างสรรค์เพื่อเสริมสร้างเศรษฐกิจชุมชน.” ทุน สนับสนุนจากแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 ประจำปี พ.ศ. 2553.
บทความวิจัย
- สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว. (2563). “วงมโหรีไทยและวงมโหรีเขมร (វង់មហោរីខ្មែរ): การเปรียบเทียบลักษณะทางดนตรี”. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 42 ฉบับที่ 1 (2020): มกราคม–มิถุนายน 2563: 238-257. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1)
- สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว. (2558). “การปรากฏและการสูญสลายของกระจับปี่ เครื่องดนตรีแห่งราชสำนักสยาม.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 (ม.ค. – มิ.ย. 2558): 145-179. (ฐานข้อมูล TCI กลุ่ม 1)
Proceedings
ระดับชาติ
- ระพีพัฒน์ เข็มนาค และสิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว. (2564). ดนตรีประกอบพิธีกรรมตัดสินบนหนังตะลุงของคณะ พ.นิยมศิลป์. หนังสือรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 10 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, หน้า 677-693.
- ศตพร เปลื้องทุกข์ และสิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว. (2564). การสร้างจุยาม (จะเข้มอญ) ของอ๊อกปาย วงษ์รามัญ. หนังสือรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติSMARTS ครั้งที่ 10 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, หน้า 678-689.
- สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว. (2562). “วงมโหรีไทยและวงมโหรีเขมร (វង់មហោរីខ្មែរ) ลักษณะร่วมทางวัฒนธรรม.” ในการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการและวัฒนธรรม 5 สถาบันเพื่อส่งเสริมภาษาและวัฒนธรรมไทยในเวทีโลก, 110-113. คณะมนุษศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 19 ธันวาคม 2562. นครปฐม.
- สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว. (2558). “การสร้างกระจับปี่ของบุญรัตน์ ทิพย์รัตน์ การสร้างกระจับปี่ของบุญรัตน์ ทิพย์รัตน์.” ใน รวม บทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 5 หัวข้อ อัตลักษณ์แห่งเอเชีย, 83-94. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 3 กรกฎาคม 2558. นครปฐม.
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น
หนังสือ
- สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว. (2561). วัฒนธรรมดนตรีพื้นเมืองไทยสี่ภาค. โครงการตำราและหนังสือ คณะอักษรศาสตร์. ครั้งที่พิมพ์ 1. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว. (2559). ดนตรีพื้นบ้าน อีสาน–ล้านนา. หนังสือขุดรู้รอบ–รอบรู้ คณะอักษรศาสตร์. ครั้งที่พิมพ์ 1. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- ________. (2555). ซอล่องน่าน. โครงการตำราและหนังสือ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ครั้งที่พิมพ์ 1. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
บทความทางวิชาการ
ระดับชาติ
- สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว. (2554). “แอ่วสาว วัฒนธรรมการเลือกคู่ครองแห่งความทรงจำ.” วารสารวัฒนธรรมจังหวัดแพร่. ปีที่ 4, 2554.
- ________. (2554). “สะล้อค็อบ ภูมิปัญญาเมืองแพร่อัตลักษณ์ซอล่องน่าน.” วารสารวัฒนธรรมจังหวัดแพร่. ปีที่ 4 , 2554.
- ________. (2553). “พิณเปี๊ยะดนตรีในตำนาน.” วารสารวัฒนธรรมจังหวัดแพร่. ปีที่ 3 ฉบับที่ 12 (มี.ค.-เม.ย. 2553).
- ________. (2552). “ขับซอ: บริบททางวัฒนธรรมและค่านิยมที่เปลี่ยนไป.” วารสารวัฒนธรรมจังหวัดแพร่. ปีที่ 2 ฉบับที่ 7 (พ.ค.-มิ.ย. 2552).
- ________. (2552). “หมาก พลู ปูน ยา: วิถีชีวิตและค่านิยมแห่งความทรงจำ.” วารสารวัฒนธรรมจังหวัดแพร่. ปีที่ 2 ฉบับ ที่ 8 (ก.ค.-ส.ค. 2552).
- ________. (2552). ซอสามสายเครื่องดนตรีแห่งราชสำนักสยาม. วารสารวัฒนธรรมจังหวัดแพร่. ปีที่ 2 ฉบับที่ 8 (ก.ค.-ส.ค. 2552).