ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมชาย สำเนียงงาม

Assistant Professor

Somchai Sumniengngam, Ph.D.

somchaisum@yahoo.com

วุฒิการศึกษา

  • อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2546)
  • ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2532)
  • ครุศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) เกียรตินิยม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2527)

สาขาวิชาที่เชี่ยวชาญ

  • ภาษาไทย

วิทยานิพนธ์

  • สมชาย  สำเนียงงาม. “ลักษณะภาษาที่แสดงความเปลี่ยนแปลงของความเชื่อเกี่ยวกับสิริมงคลและกาลกิณีในชื่อของคนไทย.” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
  • ________.  “ปัจจัยที่มีผลต่อความสนใจในการเรียนวิชาภาษาไทยตามการรับรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เขตการศึกษา 6.”  วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534.

ผลงานวิจัย

ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

  • สมชาย สำเนียงงาม และคณะ. (2560). “การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์: การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรนิเวศการเรียนรู้ วิถีชีวิตเกษตรไทย เพื่อชุมชนยั่งยืน กรณีศึกษาอำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี”. นครปฐม, ทุนอุดหนุนการวิจัยจาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) สมทบร่วมกองทุนวิจัยและสร้างสรรค์คณะอักษรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2558.
  • สมชาย สำเนียงงาม และคณะ. (2558). “โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและเสริมสร้าง ทักษะด้านการจัดการแบบบูรณาการเพื่อเตรียมความพร้อมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”. นครปฐม, ทุนอุดหนุนการ วิจัยจากกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ 2557.
  • มณีปิ่น พรหมสุทธิรักษ์ และคณะ. “โครงการเครือข่ายความร่วมมือหลักสูตรอาเซียนด้านการท่องเที่ยว : การจัดทำแผนการฝึกอบรม (course Syllabus) และสื่อประสมประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร House Keeping: Room Attendant”. ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ประจำปี .. 2554.
  • สมชาย  สำเนียงงาม. “การแสดงพื้นบ้านไทย : การศึกษาตามแนวชาติพันธุ์วรรณาแห่งการสื่อสาร“. ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปี .. 2554 จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
  • ________. “ไวยากรณ์ไทยฉบับครอบคลุมภาษาย่อย“. ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปี .. 2553 จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
  • ________. “ไวยากรณ์ภาษาย่อยของไทยตามเพศ“. ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยประจำปี .. 2551 จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ( สกว.).

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

หนังสือ ตำรา

  • สมชาย  สำเนียงงาม. (2547). “ความรู้เกี่ยวกับการพูด.” ใน การใช้ภาษาไทย, 131-143. จุไรรัตน์  ลักษณะศิริ และบาหยัน  อิ่มสำราญ, บรรณาธิการ. นครปฐม : โครงการตำราและหนังสือ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • ________. (2547). “การอภิปราย.” ใน การใช้ภาษาไทย, 159 -165. จุไรรัตน์  ลักษณะศิริ และบาหยัน อิ่มสำราญ, บรรณาธิการ. นครปฐม : โครงการตำราและหนังสือ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

บทความทางวิชาการ

ระดับชาติ

  • ศรณ์ชนก ศรแก้ว และ สมชาย สำเนียงงาม. (2560). “อุปลักษณ์เชิงมโนทัศน์เกี่ยวกับบุคคลที่สามของความรักในเพลงไทย.” ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษา ระดับชาติและนานาชาติ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 10 มี.. 2560.
  • ฐิติภา คูประเสริฐ และ สมชาย สำเนียงงาม. (2560). “กลวิธีการรักษาหน้าตนเองของนักการเมืองเพศหญิงกรณีความขัดแย้งผ่าน สื่อประเภทอินเทอร์เน็ต.” ใน รวมบทความวิจัยการประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6: อัตลักษณ์แห่งเอเชีย 2016, 32-40. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 17 มิ.. 2559.
  • สมชาย สำเนียงงาม. “คำแทนตัวผู้พุดในบทพูดเดี่ยวของผู้พูดต่างเพศ“. วารสารอักษรศาสตร์ ปีที่ 11 (2552) ฉบับที่ 2.
  • ________. (2549). “ช้างในสำนวนไทย : การศึกษาความหมาย.” ใน รวมบทความวิชาการ ภาษาและวรรณกรรมสาร : ภาษาและวรรณกรรมกับสังคม, 59-86. นครปฐม : ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • ________. (2548). “ชื่อตัวละครพระราชนิพนธ์บทละคร : พระราชนิยมในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว.” ใน รวมบทความวิชาการ ภาษาและวรรณกรรมสาร : ภาษาและวรรณกรรมพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ปราชญ์แห่งสยามประเทศ, 36-58 . กรุงเทพฯ : พี.เพรส.
  • ________. (2547). “ชื่อใหม่ ในสมัยรัฐบาลคิดใหม่ทำใหม่.” ใน รู้ทันภาษา รู้ทันการเมือง ทักษิณสมัย,  297 – 337. เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง และอมรา  ประสิทธิ์รัฐสินธุ์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ ฃอคิดด้วยฅน.
  • ________. (2544). “การเลือกใช้คำสรรพนามในภาษาไทยกับแนวคิดเรื่องความสุภาพของบราวน์และเลวินสัน.” วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร 23, 2 (ธันวาคมพฤษภาคม) : 220-243.

ระดับนานาชาติ

  • สมชาย สำเนียงงาม. (2559). “Swear Words in Thai: Changes in Thai Society.” ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุม วิชาการ The International Conference Commemorating the 50th Anniversary of the Department of Thai, Hankuk University of Foreign Studies, South Korea วันที่ 27 .. 2559.
  • ฐิติภา คูประเสริฐ และ สมชาย สำเนียงงาม. (2559). “Self-Politeness Strategies Used by Thai Male and Female Politicians in Answering Questions Broadcasted on Internet Concerning Their Conflict Situation.” ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ The International Conference Commemorating the 50th Anniversary of the Department of Thai, Hankuk University of Foreign Studies, South Korea วันที่ 27 .. 2559.
  • ฐาปนวิชญ์ ชัยชนะ และ สมชาย สำเนียงงาม. (2559). “Soul-stirring Songs under the Administration of General Prayuth Chan-o-cha : Persuasion” ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ The International Conference Commemorating the 50th Anniversary of the Department of Thai, Hankuk University of Foreign Studies, South Korea วันที่ 27 .. 2559.
  • Samniengngam, Somchai. (2004). “Change in the Selection of Auspicious Personal Names in Thai Society.” In MANUSAYA Journal of Humanities 7, 1 (March) : 110-120.

เอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน

  • สมชาย  สำเนียงงาม. “เอกสารประกอบการสอนรายวิชา 411 233 ภาษากับสื่อมวลชนและการประชาสัมพันธ์.” คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2548. (อัดสำเนา)

อื่นๆ

  • สมชาย  สำเนียงงาม. (2547). “ชื่อคนไทย : ความเชื่อและค่านิยมที่เปลี่ยนไป.” ใน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ เรื่องเวทีวิชาการเพื่อเสนอผลงานและพัฒนาโครงการวิจัย ประจำปี ..2547. คณะกรรมการส่งเสริมการวิจัย คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.